พืชไร่เศรษฐกิจ

Economic Field Crops

1.1 รู้ถึงความสำคัญ ชนิดและแหล่งปลูกของพืชไร่ ที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ   1.2 รู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต และการผลิตของพืชไร่ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ   1.3 เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต ศัตรูในระบบนิเวศ และการเก็บเกี่ยวพืชไร่ที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ   1.4 รู้ถึงวิธีการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาดของพืชไร่ที่สำคัญทางเศรษฐกิจ   1.5 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.6 มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาพืชไร่เศรษฐกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพืชไร่เศรษฐกิจ อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเอาเทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชาให้ทันสมัยสอดคล้องกับการผลิตพืชไร่เศรษฐกิจในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ แหล่งปลูก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมการผลิตและการเก็บเกี่ยว และการตลาดของพืชไร่ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ Study and practice of important, beneficial, cultivated area, botanical characteristics, the suitable environment, production and harvesting of economic field crops. And the marketing of importance economic crops
วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 8..00 – 16.00  น. อาคารพืชศาสตร์ 1    กลุ่มไลน์
1) ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติ ในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2) มีระเบียบวินัยและเคารพกฏกติกาของสังคม ประพฤติ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1) กำหนดกติกาการเข้าเรียน ความมีระเบียบวินัยในการเรียน การแต่งกายเป็นระเบียบมหาวิทยาลัย 2) สอนให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นํากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มเมื่อทํางานกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทําการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกงานของผู้อื่น 3) อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1) ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานกลุ่ม 2) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน 4) ประเมินจากพฤติกรรมในการทํางานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษาและความรู้ที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ 3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
1) ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม 2) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) 3) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา  และสื่อสารสนเทศ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานสัมมนา พร้อมตอบข้อซักถามได้
1) การสังเกตความสนใจ   2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค   3) ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย หรือโครงการที่นําเสนอ
1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ   2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) 3. การสอนแบบบรรยาย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
1. ประเมินจากการตอบปัญหา-ตอบคำถาม 2. การนำเสนอรายงานที่สอดคล้องกับบทเรียน 3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
1)  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4)  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2. การสอนแบบบรรยายผสมผสานศาสตร์ต่าง ๆ
1) ประเมินจากการทำงานกลุ่มในห้องเรียน
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม   2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม   3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล   2)การมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากทักษะการเขียนรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางอินเตอร์เน็ตการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3
1 BSCAG141 พืชไร่เศรษฐกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน 10
2 2,3 การทดสอบย่อย ก่อนเรียนบทถัดไป 15
3 2,3,4 การสอบกลางภาค 9 30
4 2,3,4,5 การปฏิบัติงาน การสืบค้นข้อมูล การนำเสนอผลงาน ทุกสัปดาห์ที่เรียน 20
5 2,3 การสอบปลายภาค 17 25
ดรุณี พวงบุตร. 2560. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาพืชไร่เศรษฐกิจ. 251 หน้า
เอกสารประกอบการสอน  (power point ประกอบการสอน)
หนังสือและเอกสารที่มีคำสำคัญว่า การผลิตพืชไร่ การจัดการพืชไร่ Field crop, Crop Science และ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชไร่ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป