จิตรกรรม 1

Painting 1

1. มีความรู้เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์สำหรับงานจิตรกรรมสีน้ำมัน 2. มีความเข้าใจวิธีการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมพื้นฐาน 3. มีความรู้เรื่องการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมหุ่นนิ่ง 4. มีความรู้เรื่องการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมทิวทัศน์ 5. มีความรู้เรื่องการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมคนเหมือน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมพื้นฐาน เกี่ยวกับการเขียนภาพ หุ่นนิ่ง ภาพทิวทัศน์ และภาพคนเหมือนเน้นทักษะ ฝีมือและการแสดงออกรูปแบบเหมือนจริง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการเขียนภาพด้วยเทคนิคจิตรกรรมพื้นฐาน เกี่ยวกับการเขียนภาพ หุ่นนิ่ง ภาพทิวทัศน์ และภาพคนเหมือนเน้นทักษะ ฝีมือและการแสดงออกรูปแบบเหมือนจริง
4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
ข้อ 1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ 3   ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ มีความรักในวิชา รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชา มีความรับผิดชอบต่อการศึกษาค้นคว้าให้ประสบผลสำเร็จตามวิธีการต่างๆ มีวินัย มีความซื่อสัตย์  ดังนี้ 1.2.1   ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม  วินัย และความซื่อสัตย์ 1.2.2   มีวินัย  ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบและปฏิบัติงานตรงเวลา   1.2.3   มีความเป็นนักสร้างสรรค์ที่ดีมีคุณธรรมไม่ลอกเรียนหรือแอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง 1.2.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
-ประเมินพฤติกรรมจากความรับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
-ประเมินจากผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย ลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจในการศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยความสนใจ
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ ข้อ 3  ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
เรียนรู้ปฏิบัติงานด้านจิตรกรรมในรูปแบบภาพเหมือนจริง โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม โดยบรรยายประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ให้เห็นถึงเทคนิค วิธีการ , ผลงานตัวอย่าง , ผลงานศิลปินที่มีชื่อเสียง และสามารถปฏิบัติงานจริง ตลอดจนแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง
 
- ประเมินจากความสมบูรณ์ของผลงานจิตรกรรมของแต่ละบุคคล - ประเมินจากความรู้ความเข้าใจในเรื่องโครงสร้างความเหมือนจริง มีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือนจริง และเทคนิคที่ใช้สอดคล้องกับแนวงานศิลปะของตนเอง  
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 2 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- นำเสนอผลงานในลักษณะเหมือนจริง ที่แสดงให้เห็นถึงเทคนิคที่สอดคล้องกัน
- วิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานปฏิบัติของแต่ละบุคคลให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียต่างๆ
- พัฒนาความสามารถในการมองโดยการถ่ายทอดและสร้างสรรค์ผลงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน วิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือนจริงตามต้นแบบที่กำหนดให้   และมีเทคนิควิธีการที่เหมาะสม ตลอดจนแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องในงานได้
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
- มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - มีทักษะในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - มีความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน หรือทำงานเป็นกลุ่ม
-ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยการวิจารณ์ผลงานที่ได้ฝึกปฏิบัติ
-ประเมินผลจากพฤติกรรมการปฏิบัติงานร่วมกันในชั้นเรียน
-ประเมินผลจากความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
- ประเมินจากการทำงานให้เสร็จได้ตามกำหนด   
 
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
-ทักษะความรู้ในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมให้เหมือนต้นแบบ
-พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานจากข้อมูลที่ได้ศึกษามา
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง นำเสนอผลงานด้วยความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ  
 
- ประเมินจากความสมบูรณ์ของผลงาน สามารถสร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่เหมาะสม
- ประเมินจากการวิธีการนำเสนอผลงาน การมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
-ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย โดยเน้นทักษะดังนี้
1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2. มีทักษะในการวาดภาพเหมือนจริงได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน  
-ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดภาพเหมือนจากต้นแบบ
-ประเมินจากชิ้นงานมีการใช้เทคนิคทางวาดเส้นสร้างสรรค์ มีความสอดคล้องกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA123 จิตรกรรม 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - มีเทคนิคการสร้างรูปทรง การจัดวางองค์ประกอบศิลป์ การใช้สี การสร้างน้ำหนักแสง-เงา การสร้างพื้นผิว ได้อย่างสมบูรณ์ เสมือนจริง ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 - ความสมบูรณ์ของผลงาน และขนาดผลงานไม่ต่ำกว่าที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์ ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 - มีความรับผิดชอบส่งงานครบ การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
www.fineart-magazine.com
National Gallery of Art (nga.gov)
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมการสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นในเนื้อหานั้น
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   จัดประชุมคณะอาจารย์  ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
มีการปรับปรุงการสอน  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   ค้นคว้าผลงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ โดยสอบถามนักศึกษา และสังเกตความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาการของผลงานนักศึกษา มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา และคณะกรรมการพิจารณาผลงาน ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา และการให้คะแนนพฤติกรรม  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็นมาประชุมสัมมนาสรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างหลากหลาย