การท่องเที่ยวโดยชุมชน

Community-Based Tourism

1.1 เข้าใจแนวความคิด ความเป็นมา ลักษณะการท่องเที่ยวโดยชุมชน
1.2 วิเคราะห์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการท่องเที่ยวบนฐานทรัพยากร วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของการท่องเที่ยวชุมชน
1.3 วางแผนการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนการท่องเที่ยวตามมาตรฐานการท่องเที่ยวชุมชน
1.4 ประเมินผลการท่องเที่ยวโดยชุมชนและผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชน
1.5 ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
2.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรและรายวิชาให้มีมาตรฐาน ทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2.2 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้ความมีความรู้และทักษะการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนฐานความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะการสอนและการปฏิบัติงานภาคสนามชุมชนให้สอดคล้องกับมาตรฐานอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แนวความคิด ความเป็นมา ลักษณะการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการท่องเที่ยวบนฐานทรัพยากร วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น การท่องเที่ยวตามมาตรฐาน การท่องเที่ยวชุมชน การวางแผนและการประเมินผลการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชน และการศึกษาดูงานการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ตามความต้องการรายกรณี
1.1.4 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และเป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำและเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่น 
1.1.5 มีวินัยในการทำงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 
1. บรรยายชั้นเรียน กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ และอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
2. จัดทำรายงาน/นำเสนอผลงาน/บูรณาการระหว่างรายวิชา
3. ออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว BCG
1. ประเมินผลจากอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
2. ประเมินผลจากการจัดทำรายงานและนำเสนอผลงาน
3. ประเมินจากการออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว BCG
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขางิชาการโรงแรมทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากลและทันสมัยต่อสภานการณ์โลก 
2.1.2  มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บูรณาการความรู้ร่วมกับงานวิจัย
จัดงานโึครงการบูรณาการ
สอบกลางภาคเรียน
ประเมินผลจากบูรณาการความรู้ร่วมกับงานวิจัย 
ประเมินผลจากจัดงานโครงการบูรณาการ
ประเมินผลจากสอบกลางภาคเรียน 
3.1.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการภาคสนามและการปฏิบัติงานจริงตามสนานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
ออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG
การนำผลงานการออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG ไปใช้ประโยชน์ได้จริง
4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3  มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
การทำงานกลุ่มและประสานงานหน่วยงานภายนอกในการออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG
การทำงานกลุ่มและประสานงานหน่วยงานภายนอกในการออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง พูด อ่าน เขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 การบรรยายชั้นเรียน กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ และอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
5.2.2 การจัดทำรายงาน/นำเสนอผลงาน/บูรณาการโครงงานรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.2.3 การออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG
5.2.4 สอบกลางภาคเรียน
5.3.1 การบรรยายชั้นเรียน กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ และอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
5.3.2 การจัดทำรายงาน/นำเสนอผลงาน/บูรณาการโครงงานรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.3.3 การออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบ BCG
5.3.4 สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
กฤษณ อร่ามศรี, อนาวิน สุวรรณะ, จิรัฐิติกาล มานะจรรยาพงศ์, กมล เกียรติพงษ์, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, และ ทศพร ไชยประคอง. (2565). แนวปฏิบัติสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนสู่การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า. วารสารพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 10(1), 1-10.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. 255๖. คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). 2559. เที่ยวชุมชนไปกับคน อพท. กรุงเทพฯ: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).
อนาวิน สุวรรณะ, ทศพร ไชยประคอง, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, กมล เกียรติพงษ์, และกฤษณ อร่ามศรี (2564). การพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อชุมชนในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 13(3), 193-211.
World Tourism Organization (UNWTO). 2021. Recommendations for the Transition to a Green Travel and Tourism Economy. Madrid: UNWTO.
World Tourism Organization (UNWTO). 2022. Best Tourism Villages by UNWTO Areas of Evaluation 2022 Edition. Madrid: UNWTO.
กฤษณ อร่ามศรี, อนาวิน สุวรรณะ, จิรัฐิติกาล มานะจรรยาพงศ์, กมล เกียรติพงษ์, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, และ ทศพร ไชยประคอง. (2565). แนวปฏิบัติสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนสู่การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า. วารสารพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 10(1), 1-10.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. 255๖. คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). 2559. เที่ยวชุมชนไปกับคน อพท. กรุงเทพฯ: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).
อนาวิน สุวรรณะ, ทศพร ไชยประคอง, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, กมล เกียรติพงษ์, และกฤษณ อร่ามศรี (2564). การพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อชุมชนในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 13(3), 193-211.
World Tourism Organization (UNWTO). 2021. Recommendations for the Transition to a Green Travel and Tourism Economy. Madrid: UNWTO.
World Tourism Organization (UNWTO). 2022. Best Tourism Villages by UNWTO Areas of Evaluation 2022 Edition. Madrid: UNWTO.
กฤษณ อร่ามศรี, อนาวิน สุวรรณะ, จิรัฐิติกาล มานะจรรยาพงศ์, กมล เกียรติพงษ์, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, และ ทศพร ไชยประคอง. (2565). แนวปฏิบัติสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนสู่การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า. วารสารพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 10(1), 1-10.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. 255๖. คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). 2559. เที่ยวชุมชนไปกับคน อพท. กรุงเทพฯ: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).
อนาวิน สุวรรณะ, ทศพร ไชยประคอง, ช่อทิพย์ นิมิตรกุล, กมล เกียรติพงษ์, และกฤษณ อร่ามศรี (2564). การพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อชุมชนในพื้นที่สงวนชีวมณฑลแม่สา-คอกม้า จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 13(3), 193-211.
World Tourism Organization (UNWTO). 2021. Recommendations for the Transition to a Green Travel and Tourism Economy. Madrid: UNWTO.
World Tourism Organization (UNWTO). 2022. Best Tourism Villages by UNWTO Areas of Evaluation 2022 Edition. Madrid: UNWTO.
ประเมินผลผ่านระบบทะเบียน มทร ล้านนา ดังนี้
- ด้านการสอน
- ด้านสื่อ
- ด้านประเมิน
- ด้านปกครอง
2.1 การอภิปรายในชั้นเรียน
2.2 การทดสอบและกิจกรรมในชั้นเรียน
2.3 การเรียนรู้และศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.4 การออกแบบและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน
2.5 สอบกลางภาคเรียน
2.6 โครงการบูรณาการรายวิชากับวิชาที่เกี่ยวข้อง
3.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาภาคเรียนก่อนหน้า
3.2 ปรับปรุงตามนโยบายและแนวทางทางของหลักสูตรและคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
3.3 ปรับปรุงแนวทางของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
4.1 ทวนสอบนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ
4.2 ทวนสอบนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
5.1 ทบทวนและปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาให้สอดคล้องตามหลักการดำเนินการการท่องเที่ยวโดยชุมชน
5.2 ทบทวนและปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
5.3 ทบทวนและปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ มทร.ล้านนา