วิทยานิพนธ์

Thesis

1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการ กระบวนการ และวิธีการทำวิทยานิพนธ์ เพื่อการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นหรือการประกอบวิชาชีพ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเนื้อหาที่ตนเองให้ความสนใจแบบการศึกษารายบุคคลภายใต้การให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกหัดปฏิบัติการจัดทำโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมตามกระบวนการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จขั้นการออกแบบและการนำเสนอผลงาน โดยใช้ความรู้ที่ศึกษามาตลอดหลักสูตรในการปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยตนเอง
1. เพื่อให้มีจำนวนนักศึกษาจบตามเวลาปกติมากยิ่งขึ้น โดยปรับปรุงระบบและรูปแบบการนำเสนองานและการส่งงาน
2. เพื่อทำการเก็บบันทึกผลงานนักศึษาในรูปแบบออนไลน์
การศึกษารายบุคคล โดยนำความรู้ที่ได้รับตลอดหลักสูตร เป็นแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรม ภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา และเป็นไปตามระเบียบการทำวิทยานิพนธ์
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ทั้งในรูปแบบออนไลน์หรือและออฟไลน์)
-  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
-  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกระหว่างการให้คำปรึกษาและการสอบทุกครั้ง
- ตรวจสอบการเข้าพบที่ปรึกษา ความมีวินัย ตรงต่อเวลา
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าพบที่ปรึกษา การส่งงาน การสอบ และการแสดงความคิดเห็นในการสอบ
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองในหัวข้อของตนเอง โดยมีการให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา
- การนำเสนอผลการศึกษาและผลงานวิทยานิพนธ์
- การให้คำแนะนำของคณะกรรมการวิทยานิพนธ์
- ประเมินจากการสอบตลอดภาคการศึกษา
- ประเมินจากผลงาน
- ประเมินโดยอาจารย์ที่ปรึกษา
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- การให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา
- การนำเสนอผลการศึกษาและผลงาน
- การสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาจากผลงาน
- ประเมินจากการสอบตลอดภาคการศึกษา
- ประเมินจากผลงาน 
- ประเมินโดยอาจารย์ที่ปรึกษา
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานปฏิบัติ
- การนำเสนอผลงานและอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการเข้าพบที่ปรึกษา การส่งงานและการสอบ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำแนะนำ
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- ประเมินจากการเลือกใช้และวิธีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- ส่งเสริมให้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และมีความเป็นตัวของตัวเอง
- จากผลงานการออกแบบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อ 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARAT111 วิทยานิพนธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเมินโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ทุกสัปดาห์ 5%
2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ การสอบ 10,17 30%
3 ด้านทักษะทางปัญญา การสอบ 10,17 45%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินโดยอาจารย์ที่ปรึกษา 10,17 5%
5 ด้านทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอบ 10,17 10%
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ทุกสัปดาห์ 5%
ขึ้นอยู่กับอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละกลุ่มย่อย
คู่มือการทำวิทยานิพนธ์
เอกสารรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรม
ขึ้นอยู่กับอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละกลุ่มย่อย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ก่อน ระหว่าง และปลายภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนและข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัยปลายภาค
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตของอาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการ
2.2 ผลการสอบของนักศึกษา เป็นคะแนนเฉลี่ยของกรรมการสอบ
ใช้ผลการประเมินโดยนักศึกษา และการประเมินโดยกรรมการ เป็นเครื่องมือปรับปรุงการสอนเป็นประจำทุกปีการศึกษา
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
- แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และมคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป