ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

Special Problems in Food Science and Technology

1.1 รู้ความสำคัญและขอบเขตการศึกษาในหัวข้องานวิจัยที่นักศึกษาให้ความสนใจ
1.2 เข้าใจการศึกษาหัวข้องานวิจัยและสามารถจัดลำดับขั้นตอนและวางแผนการทำงานในหัวข้องานวิจัยนั้น
1.3 มีทักษะในการกำหนดหัวข้อ ค้นคว้าเอกสาร ทำการศึกษาทดลอง และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างดำเนินการศึกษา
1.4 ทักษะในการปฏิบัติการเพื่อให้ได้ผลการศึกษา ซึ่งสามารถนำผลที่ได้ไปวิเคราะห์ วิจารณ์และสรุปผลเรียบเรียงข้อมูลพร้อมทั้งนำเสนอผลงานและจัดทำเป็นรูปเล่มรายงานที่ถูกต้องตามหลักวิชาการภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษเพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนต่อไป
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
การกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารการวางแผนโครงงานวิจัยการเขียนโครงร่างงานวิจัย ดำเนินการวิจัยทดลองในห้องปฏิบัติการตามโครงร่างงานวิจัยภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ การเขียนและสอบป้องกันงานวิจัย และส่งรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Problem defining and research hypothesis in food science and technology; literature reviews for research topics in food science and technology; planning a research project; writing a research proposal; conduct research experiments in the laboratory relevant to the research proposal under advisor’s guidance; writing and defence research and submitting the completed research report.)
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
3.2 อาจารย์ที่ปรึกษาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
˜ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜ 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
š 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- บรรยาย
- งานกลุ่ม
- นำเสนอข้อมูล
- การแสดงออกเชิงพฤติกรรม
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงาน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- นำเสนอข้อมูลในชั้นเรียน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความสามารถในการนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
š 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜ 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
˜ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
- บรรยาย
- งานกลุ่ม
- นำเสนอข้อมูล
- การแสดงออกเชิงพฤติกรรม
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงาน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- นำเสนอข้อมูลในชั้นเรียน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความสามารถในการนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
˜ 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
˜ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่นการตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
š 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
- บรรยาย
- งานกลุ่ม
- นำเสนอข้อมูล
- การแสดงออกเชิงพฤติกรร
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงาน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- นำเสนอข้อมูลในชั้นเรียน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความสามารถในการนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
˜ 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
˜ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
- บรรยาย
- งานกลุ่ม
- นำเสนอข้อมูล
- การแสดงออกเชิงพฤติกรรม
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงาน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- นำเสนอข้อมูลในชั้นเรียน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความสามารถในการนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลงความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียนรู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
˜ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมและใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวคิด
š 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
- บรรยาย
- งานกลุ่ม
- นำเสนอข้อมูล
- การแสดงออกเชิงพฤติกรรม
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงาน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- นำเสนอข้อมูลในชั้นเรียน/คุณภาพ ความถูกต้อง ความสามารถในการนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ฝึกปฏิบัติ
- การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม/การเช็คชื่อ การตอบคำถาม
- รายงานความก้าวหน้าการทำปัญหาพิเศษ/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- การนำเสนอข้อมูล การใช้สื่อสารสนเทศ/บุคลิกภาพ ความถูกต้อง เวลาในการนำเสนอ การตอบคำถาม
- เอกสาร รายงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์/คุณภาพ ความถูกต้อง ความตรงต่อเวลา
- สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกภายในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานด้วยกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 5 1 1 2 3 4 1 2 3 4 3 4 1 2 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT105 ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 คุณธรรมจริยธรรม 1.2 ความรู้ 1.3 ทักษะทางปัญญา 1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าบุคคลแลความรับผิดชอบ 1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6 ทักษะพิสัย การเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็น 1-15 60 %
2 1.1 คุณธรรมจริยธรรม 1.2 ความรู้ 1.3 ทักษะทางปัญญา 1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าบุคคลแลความรับผิดชอบ 1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6 ทักษะพิสัย การสอบโครงร่าง 1-4 15 %
3 1.1 คุณธรรมจริยธรรม 1.2 ความรู้ 1.3 ทักษะทางปัญญา 1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าบุคคลแลความรับผิดชอบ 1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6 ทักษะพิสัย การนำเสนอผลงาน 16 25 %
ตำรา เอกสาร รายงานการวิจัย วารสารทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อปัญหาพิเศษที่นักศึกษาทำ
วารสารระดับชาติ วารสารระดับนานาชาติ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
http://www.foodnetworksolution.com
http://www.sciencedirect.com
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ