ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ

Ornamental Fish and Aquatic Plants

1.1  เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ  เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงาม และพรรณไม้น้ำ
1.2  สามารถคัดเลือก และเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจได้
1.3  ทราบอาหารสำหรับปลาสวยงาม โรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน
1.4  ทราบแนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
2.1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกิดทักษะต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจปลาสวยงาม
2.2. เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ และการตลาดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
จำนวนชั่วโมงในการให้คำปรึกษาต่อสัปดาห์           1 ชั่วโมง
1.1 มีคุณธรรม และจริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย   
- สอดแทรก หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- อภิปราย และทำงานกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การเสียสละ และช่วยเหลือกัน
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ไม่ทุจริตในการสอบ
2. กำหนดหลักเกณฑ์ หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
3. การมอบหมายงานเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนดไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม
- คุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความรับผิดชอบต่อข้อตกลงและกฎเกณฑ์ที่กำหนด
- การสังเกตพฤติกรรมในขณะอยู่ในชั้นเรียนหรือทำงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2.2 มีความรอบรู้
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  โดย
- บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้อ่าน และสรุปบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ให้ทำแบบฝึกหัด
- ให้ค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
- ประเมินจากการปฏิบัติงานในภาคสนามและห้องปฏิบัติการ
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
- ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางมาตรฐานการผลิตทางการประมง เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจ และสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ และอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้ามาตรฐานการผลิตทางการประมงด้านต่างๆ และนำเสนอผลการค้นคว้า
- มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ข้อมูล และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการอย่างถูกต้อง

 
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
- การทำรายงานและการนำเสนอผลงาน และการอภิปรายผลงานที่นำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1 ภาวะผู้นำ
4.2 มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ
 การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในขณะทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
 - ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
 - ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
- การพูดคุยสนทนาโต้ตอบ และอภิปรายซักถามเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากการตอบคำถาม จากงานที่ได้รับมอบหมาย หรือการนำเสนอรายงาน
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานและอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การฝึกปฏิบัติงานจริง
- ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์จริงในภาคสนาม
- ประเมินจากการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 6. ด้านทักษะพิสัย 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ 1.1 มีคุณธรรม และจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 BSCAG325 ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4 - 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 70%
2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4 - 2.6, 3.2, 4.1 - 4.6, 5.3, 5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
 1.1. อรุณี รอดลอย และคณะ.2552.พรรณไม้น้ำไทย.สถาบันวิจัยสัตว์น้ำและพรรณไม้น้ำ สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง, โรงพิมพ์ดอกเบี้ย กรุงเทพ.
    1.2. สมใจ เปรมสมิทธ์. 2556. เอกสารประกอบการสอนวิชาปลาสวยงามและพรรณไม้นํ้า. สาขาประมง, คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง