การเงินธุรกิจสมัยใหม่

Modern Business Finance

1. เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ ลักษณะและความหมายของการเงินธุรกิจ
2. เพื่อให้ทราบบทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน
3. เพื่อให้เข้าใจรูปแบบของธุรกิจและความสัมพันธ์ของการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน
4. เพื่อให้เข้าใจหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการบริหารเงินทุนหมุนเวียน และการตัดสินใจลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
5. เพื่อให้รู้วิธีการจัดหาเงินทุน และสามารถอธิบายโครงสร้างทางการเงินของธุรกิจ
6. เพื่อทราบที่มาและความสำคัญของเทคโนโลยีการเงินสำหรับธุรกิจ สกุลเงินดิจิทัล แหล่งเงินทุน ธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัล
7. เพื่อให้ตระหนักในความรับผิดชอบที่ควรมีในสังคมและจรรยาบรรณของนักวางแผนทางการเงินธุรกิจ
เพื่อให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีดิจิทัล และแนวโน้มความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ เทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน ที่มาและความสำคัญของเทคโนโลยีการเงินสำหรับธุรกิจ สกุลเงินดิจิทัล แหล่งเงินทุน ธุรกรรมทางการเงินในยุคดิจิทัล จรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
อาจารย์ประจำวิชา ให้คำปรึกษาผ่าน Website อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดําเนินชีวิตอยู่กับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทําคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม มีความระมัดระวังในการ ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน นักศึกษาควรมีจริยธรรมดังต่อไปนี้ 1.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อ วิชาชีพ 1.1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและ สังคม 1.1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.1.4 มีจิตสํานึก และพฤติกรรมที่คํานึงถึงประโยช์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1.2.1  สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน 1.2.2  ให้ความสําคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.2.3  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทําประโยชน์ให้กับชุมชน 1.2.4  การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1.3.1 ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาการทํางานทัน ตามกําหนด และความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินการกระทําทุจริตในการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการเงินธุรกิจ 
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการเงินธุรกิจโดยสามารถบูรณาการและนํามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.1.3  มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการเงินธุรกิจและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.1.4  สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
2.2.1  ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จําลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2.2.2  การถาม-ตอบ ปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
2.2.3  มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมลูเพื่อจัดทํารายงานหรือโครงการ
2.2.4  ใช้กรณีศึกษาจากงานวิจัยจริง
2.3.1  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงานการ ค้นคว้า และการนําเสนอ 2.3.2  การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือการสอบปฏิบัติ 2.3.3  การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือ การฝึกงานในองค์กรธุรกิจ 2.3.4  การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสํารวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต  
3.1.1 ส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จําลอง 3.2.2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญาความคิดการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา 3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญเปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้และฝากกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์ จําลอง 3.2.2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญาความคิดการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา 3.2.3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญเปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3.3.1 ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัดโจทย์ปัญหากรณีศึกษาหรือสถานการณ์จําลองที่ ได้รับมอบหมาย
3.3.2 ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
3.3.3 ประเมินจากรายงายผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการนําเสนอหน้าชั้นเรียนรวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิด ชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.1.3 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สามารถให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 มอบหมายการทํางานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นําการเป็นสมาชิก กลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.2 มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4.2.3 ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
4.3.1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินการเป็นผู้นําและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.1.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปล ความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.1.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียนรู้จักเลือกและใช้รูปแบบการ นําเสนอที่เหมาะสมกับ ปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน 5.1.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บ รวบรวม ข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
5.2.1 มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคํานวณเชิงตัวเลข
5.2.2 มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
5.2.3 ให้อภิปรายและนําเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนําเสนอในรูปแบบรายงาน
5.2.4 มอบหมายกรณีศึกษาให้นํามาวิเคราะห์และนําเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.3.1 ประเมินจากรายงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตตร์ 
5.3.2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนําเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
5.3.3 ประเมินจากการสอบข้อเขียน
5.3.4 ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนําเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ทักษะทางพฤติกรรมเกี่ยวกับความสามารถทางด้านการปฏิบัติ อาศัยการฝึกฝน ความชำนาญ ความเชี่ยวชาญแต่ละบุคคลที่ต้องพัฒนา โดยนักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่เกิดจากการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ตามคุณลักษณะของนักวิจัยที่พึงประสงค์โดยวัดจาก
6.1.1 คุณภาพของงาน ได้แก่ จุดเด่นของผลงาน ความเหมาะสมในการนำไปใช้ ความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเรียบร้อย
6.1.2 คุณภาพด้านปริมาณงาน ได้แก่ ผลสำเร็จของงานที่ได้ภายใต้เวลาที่กำหนด
6.1.3 ทักษะการปฏิบัติงาน และปรับปรุงงาน ได้แก่ การพัฒนาผลงานในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
6.2.1 แนะนำให้ผู้เรียนเห็นถึง คุณภาพของการเป็นนักการเงิน/นักวางแผนการเงินที่ดี โดยมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ
6.2.2 ให้นำเสนอผลงานที่ได้จากการจัดทำใบงานเกี่ยวกับการบัญชีบริหารพร้อม โดยเสนอแนะข้อดี ข้อเสียเพื่อให้กลับไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นตามเวลาที่กำหนด
6.2.3 ตรวจสอบผลงานตามกำหนดเวลาที่ระบุและดูความก้าวหน้าและพัฒนาการของผลงาน
6.3.1 ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่มอบหมายรวมถึงการสืบค้นข้อมูล ทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล ในรูปแบบและเนื้องหาทางการเงินธุรกิจที่ถูกต้องเหมาะสม
6.3.2 ประเมินทักษะการนำเสนองานและการมีพัฒนาที่ดีขึ้นตามข้อเสนอแนะ
6.3.3 ประเมินการสอบข้อเขียนและสอบปากเปล่าเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 3 1 2 3 4
1 BBACC117 การเงินธุรกิจสมัยใหม่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 18 18 10 30 10 30
2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า นำเสนอ การทำงานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบ การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10
การเงินธุรกิจ. (2565). การเงินธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์ของตัวผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 พฤติกรรมในระหว่างการอยู่ในชั้นเรียน
3.1 สัมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 สอดแทรกกรณีศึกษาในสภาวการณ์ที่เกิดจริง 3.3 นักศึกษาลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนท้องถิ่น แล้วประยุกต์ความรู้เข้าสู่การแก้ไขปัญหานั้นๆ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปtหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ