ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน

The King’s Philosophy and Sustainable Development

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. รู้พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) 2. เข้าใจความหมาย หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติของศาสตร์พระราชา 3. รู้เกี่ยวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4. รู้พระราชประวัติ แนวคิดพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) 5. เข้าใจหลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ 6. รู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 7. น้อมนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2.2 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคป
ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย หลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติของศาสตร์พระราชา พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) แนวคิดพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 10) หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และการน้อมนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำ และสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 2. การส่งรายงานตรงเวลา 3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา 2. ฐานความรู้ 3. อภิปราย สะท้อนคิด 4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงานที่มอบหมาย 6. การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา
2. ฐานความรู้ 3. อภิปราย สะท้อนคิด 4. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงานที่มอบหมาย 6. การสอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงานที่มอบหมาย
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขป
1. ฐานความรู้ 2. อภิปราย สะท้อนคิด
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงานที่มอบหมาย 6. การสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSO507 ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 2.1, 3.2 การอภิปราย สะท้อนคิด ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1, 3.2 ฐานการเรียนรู้ 4,5,6,15 30%
5 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 8 25%
6 1.3, 2.1 สอบปลายภาค 17 25%
1. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2549). พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: หจก. อรุณการพิมพ์. 2. กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2542). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และทฤษฎีใหม่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. 3. กฤติกา เพี้ยนศรี (บก.). (2551). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริกับการแก้ป
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา : 1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย 1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน 1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้ 1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน 1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดง ความคิดเห็น) 2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน งานมอบหมายในชั่วโมง 2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม การมีจิตอาสา ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 2.4 จากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1 ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกป
4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย 4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว, พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ 4.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค 4.4 การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป