ระบบการผลิตอัตโนมัติ

Automation

1.1  เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจหลักการเบื้องต้นในระบบการผลิตอัตโนมัติ
1.2  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการพื้นฐานของเซนเชอร์และการทำงานของเซนเซอร์
1.3  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจระบบนิวแมติกส์และการทำงานของอุปกรณ์นิวแมติกส์
1.4  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจระบบไฮดรอลิกส์และการทำงานของอุปกรณ์ไฮดรอลิกส์
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการทำงานของพีแอลซี
1.6 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการทำงานของระบบลำเลียงอัตโนมัติ
1.7 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจพื้นฐานการใช้หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบควบคุมการผลิตอัตโนมัติ เซนเซอร์ ระบบไฮดรอลิกและระบบนิวเมติกส์ อุปกรณ์ส่งกำลังแบบไฟฟ้า พีแอลซี การเชื่อมโยงการผลิตระบบขนถ่ายลำเลียงอัตโนมัติ พื้นฐานการใช้หุ่นยนต์ในงานด้านอุตสาหกรรม
ศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบควบคุมการผลิตอัตโนมัติ ระบบและการทำงานของเซนเซอร์ ระบบไฮดรอลิกและนิวเมติกส์ อุปกรณ์ส่งกำลังแบบไฟฟ้า พีแอลซี การเชื่อมโยงการผลิตระบบขนถ่ายลำเลียงอัตโนมัติ พื้นฐานการใช้หุ่นยนต์ในงานด้านอุตสาหกรรม
-      อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.11     ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย และสร้างให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร
1.1.2    มีวินัย  ตรงต่อเวลา และการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.1.3    มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และไม่ทุจริตในการสอบ
1.1.4    ปลูกฝังให้รู้จักหน้าที่การเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.1.5    มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม ให้ความสำคัญในวินัยในการตรงต่อเวลาการมาเรียนและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ

1.2.3 สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริตทั้งตนเองและผู้อื่น
1.2.4    มอบหมายหน้าที่ผ่านทางหัวหน้าชั้นที่ต้องปฏิบัติเป็นทีมหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนในวิชา
1.2.5    สอดแทรกจรรยาบรรณของวิศวกรร่วมกับการเรียน
1.3.1  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
1.3.2   การขานชื่อก่อนเริ่มเรียน การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการแต่งกายในการมาเรียน
1.3.3   ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
1.3.4   ประเมินจากพฤติกรรมการลงมือที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษาด้วยตนเอง และสังเกตพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง
1.3.5   สังเกตุพฤติกรรมในการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
2.1.1  มุ่งเน้นการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบแนวคิดและหลักการนำเอาวิศวกรรมพื้นฐานไปใช้งานและการประยุกต์ใช้กับวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.1.2   ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและตัวอย่างลักษณะการนำไปใช้งาน มาประกอบในการเรียน เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.1.3   มอบหมายให้ทำรายงานในเชิงบูรณาการโดยจำลองสถานการณ์และรูปแบบความต้องการที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.4   มอบหมายให้ทำรายงานการวิเคราะห์และการแก้ไขโดยการจำลองสถานการณ์ขึ้นมา
2.1.5   เน้นการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการนำเอาความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้
2.2.1   มุ่งเน้นการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบแนวคิดและหลักการนำเอาวิศวกรรมพื้นฐานไปใช้งานและการประยุกต์ใช้กับวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.2.2   ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและตัวอย่างลักษณะการนำไปใช้งาน มาประกอบในการเรียน เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.3   มอบหมายให้ทำรายงานในเชิงบูรณาการโดยจำลองสถานการณ์และรูปแบบความต้องการที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.2.4   มอบหมายให้ทำรายงานการวิเคราะห์และการแก้ไขโดยการจำลองสถานการณ์ขึ้นมา
2.2.5   เน้นการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการนำเอาความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้
2.3.1  พิจารณาจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2.3.2   ประเมินจากผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.3   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.5   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.1.1  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา
3.1.3   สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ
3.1.4   มีความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
3.1.5  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
3.2 วิธีการสอน
  3.2.1   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ในการนำเทคนิควิธีการปฏิบัติงานพื้นฐานทางอุตสาหกรรมมาประยุกต์ใช้
  3.2.2   ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาเน้นการนำมาใช้ปฏิบัติงานจริง
  3.2.3   ออกข้อสอบที่เน้นการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
     3.2.4   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ
      3.3.1   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
      3.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
      3.3.3   ประเมินจากการทำข้อสอบ
3.3.4   ประเมินจากรายงานที่ส่ง
4.1.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.1.2   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.1.4   มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.1.5   มีภาวะผู้นำ
4.2.1  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.3  ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4  ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.2.5  กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.3.1  ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
4.3.3   สังเกตผลจากการายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.4   สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4.3.5   สังเกตพฤติกรรมภาวะการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่
5.1.1   มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
5.1.2   มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และการสื่อสารที่ทันสมัย
5.1.3   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
5.1.4   มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อสาร
5.1.5  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1  มุ่งเน้นการใช้เครื่องมือด้านวิศวกรรมพื้นฐาน งานด้านเครื่องมือวัดและเครื่องมือกล เพื่อใช้สำหรับงานด้านวิศวกรรมอุตสาหการ
5.2.2  มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆและให้นักศึกษานำเสนองาน
5.3.1  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านทักษะการใช้งานเทคโนโลยีด้านงานวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้ทางวิชาชีพ
5.3.2   ประเมินจากผลงานและการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.4 – 2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 40% 40%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 การนำเสนองาน การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมงานกลุ่ม การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
[1]  สุรพล ราษฏร์นุ้ย “วิศวกรรมการบำรุงรักษา” พิมพ์ครั้งที่1, บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) 2545
 [2]  มานพ ตันตระบัณฑิตย์และคณะ “กรรมวิธีการผลิต” พิมพ์ครั้งที่ 1, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น, 2533
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ