การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

Teaching English for International Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน ฝึกปฏิบัติการสอน บูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้น เรียน สร้างแบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้จากการฝึกปฏิบัติและแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงไปใช้ในวิชาชีพ
2.2 เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาทฤษฏีเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน ฝึกปฏิบัติการสอน บูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน สร้าง แบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- อาจารย์ให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์สาขา หรือทางจดหมายอิเลคทรอนิคส์ ทางไลน์

 
 [· ]  1.1  มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสำนึกสาธารณะ  ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
[ O ]   1.2 มีความพอเพียง  มีวินัย  ขยัน อดทน เพียรพบายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง  สังคมส่วนร่วม และสิ่งแวดล้อม
 [ · ] 1.3 มีความเคารพต่อ กฏระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
[O] 1.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ 
          1.5  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ  เคารพ สิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
           1.6  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม  จริยธกรรมที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
 
 1.2.1  จัดกรรมกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 1.2.2  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
  1.2.3  สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
          รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 1.2.4  ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ
 
วิธีการสอน
- ผู้สอนบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมจริยธรรม และ การเสียสละของการผู้ที่จะประกอบอาชีพครู
-  อภิปรายกลุ่ม
1.3.1 การเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
1.3.2  การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม 
ในการประเมินผล  ผู้สอน ประเมินจาก
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำเสนออย่างถูกต้องและเหมาะสม
-  ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
2.1.1  มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ ในเนื้อหา ที่ศึกษา สามารถ บูรณาการความรู้ ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง   
2.2.1  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยให้ผู้เรียนไปฝึกปฎิบัติในสถานที่ จริง 
2.2.3  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 
2.2.4  มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียน
 
2.3.1  ใช้การทดสอบกลางและปลายภาค 
2.3.2  ให้ผู้เรียนรายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม หรือ การนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ 
2.3.3  ประเมินผลการฝึกฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 
2.3.4  ประเมินผลจากการค้นคว้าและการนำเสนอ   
3.1.4  สามารถ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการในเนื้อหาของแต่ละหน่วยได้ 
3.2.1  จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฎิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง 
3.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาตามหลักบรูณาการการเรียนการสอน กับการฝึกปฎิบัติการสอน 
 
3.3.1 การใช้ภาษาของนักศึกษา ในบทบาทสมมุติ หรือสถานการณ์ จำลอง 3.3.2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อวิเคราะห์ แก้ปัญหาและสื่อสารในบริบทต่างๆ 3.3.3 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเค่ารพความคิดเห็นของผู้อื่น
         รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4.1.2  มีความสามารถในการความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม 
4.1.3  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก
          ต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณื ต่างๆ ทั้ง ในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 
4.1.4   มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่ิง
4.1.5   สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
4.1.6  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 
4.2.1  สอดแทรกความรู้เกียวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในรายวิชาที่สอน 
4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกรรม  โดยเปลียนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 
4.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปราบเพื่อหาข้อสรุป
4.2.4  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมกับอาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง 
 
4.3.1 การทดสอบย่อย  กลาางภาค และ ปลายภาค 
4.3.2  การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 
4.3.3  การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา 
4.3.4  การสังเกตพฤติกรรมและการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา จากการไปฝึกปฏิบัติสอนจริงกับ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
2.6.2  สามารถ ปฎิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้ และประสบการณ์ ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพืี่อสนับสนุนการ
         จัดการเรียการสอน นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตัวเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.2.1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  ในกิจกรรมต่างๆ ใน ชั้นเรียน  
6.2.2  จัดกิจกรรม เสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ปฎิบัติจริง
6.2.3  สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ภายนอกมหาวิทยาลัย 
 
6.3.1 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายจากการไปฝึกปฏิบัติสอนนักเรียนจริงในสถานศึกษาในชุมชน ใหล้มหาวิทยาลัย 
6.3.2 ประเมินพฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะในการปฎิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BOAEC137 การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2..2. 1 / 2.3.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 18 สอบกลางภาค 20 % สอบปลายภาค 20 %
2 - 2.1.1 / 2.1.2 / 2.1.3 /2.1.4 - 2.2.1 - 2.3.4 - 2.4.1 / 2.4.2 /2.4.3 / 2.4.4 / 2.4.5 / 2.4.6 -2.6.2 - ฝึกปฏิบัติเขียนแผนการสอนและการประเมินผลการสอน - ฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน - ฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในชุมชนใกล้มหาวิทยาลัย - ในนักศึกษานำเสนองานในชั้นเรียน - ฝึกปฏิบัติเขียนแผนการสอนและการประเมินผลการสอน สัปดาห์ ที่ 6, 7, 10, 11, 12 - ฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 13, 14, - ฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในชุมชนใกล้มหาวิทยาลัย 15, 16 - ให้ในนักศึกษานำเสนองานในชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 17 50 %
3 2.1.1 / 2.1.2 / 2.1.3 / 2.1.4 - สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10%
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลักเอกสารประการการสอนตามแผนการสอนที่กำหนดไว้
Farrell. T.S.C. (2002). Lesson planning. In J.C. Richards; and W.A. Renandya (eds.), Methodology in language teaching.
Cambridge: Cambridge University Press.5
Jacobs, G.M., Lee, G.S. & Ball, J. (1995). Learning cooperative learning via cooperative learning. Singapore: SEAMEO Regional Language Centre.
Nunan, D. (1989) Designing tasks for the communicative classroom. Cambridge: Cambridge University Press.
Richards, C. and Renandya, W.A. (2002) Methodology in language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press. Richards, C. & Rodgers, T. (1986). Approaches and methods in language teaching. Cambridge: Cambridge University Press.
Woodward, T. (2001) Planning lessons and courses. Cambridge: Cambridge University Press.
http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm
http://www.learners.in.th/blogs/posts/283159
http://isc.edu.ku.ac.th/course/data/01156522_2010_01_01.pdf
http://journals.cambridge.org/action/displayAbstract?fromPage=online&aid=2546864
http://teachingcommons.depaul.edu/How_to/Develop_a_Course/design.html

 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3    การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูล เพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
-    สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
 รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผล การเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นโดยปรับปรุงรายวิชาทุก
3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4