การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์

Strategic Cost Management

เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารต้นทุน การนำกลยุทธ์การบริหารต้นทุนมาประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล และช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในการบริหารต้นทุน ตลอดจนศึกษาถึงปัญหาพิเศษที่เกี่ยวกับการบริหารต้นทุน และเครื่องมือการบริหารต้นทุนสมัยใหม่
เพื่อให้รายวิชารองรับได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะเศรษฐกิจและตอบสนองความต้องการบุคลากรด้านวิชาชีพบัญชี
ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารต้นทุน การนำกลยุทธ์การบริหารต้นทุนมาประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล และช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในการบริหารต้นทุน ตลอดจนศึกษาถึงปัญหาพิเศษที่เกี่ยวกับการบริหารต้นทุน และเครื่องมือการบริหารต้นทุนสมัยใหม่
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สื่อสารทาง Social Media
นักศึกษาตNองมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อใหNสามารถดําเนินชีวิตอยู@กับ ผูNอื่นในสังคมไดNอย@างสรNางสรรค] มีจิตสาธารณะและทําคุณประโยชน]ใหNแก@ส@วนรวม มีความระมัดระวังในการ ใชNความรูN ทักษะทางวิชาชีพ โดยไม@ก@อใหNเกิดผลกระทบต@อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ เพื่อใหNเกิดความยั่งยืน นักศึกษาควรมีจริยธรรมดังต@อไปนี้
1.1.1 มีความรูNและความเขNาใจในคุณค@าแห@งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต@อ วิชาชีพ
1.1.2 มีความซื่อสัตย]สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและ สังคม
1.1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย@างสรNางสรรค]ในสังคม 1.1.4 มีจิตสํานึก และพฤติกรรมที่คํานึงถึงประโยชน]ส@วนรวมมากกว@าประโยชน]ส@วนตนอยา@ งมี
คุณธรรม
1.2.1  สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน 1.2.2  ให้ความสําคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัย 1.2.3  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทํา
ประโยชน์ให้กับชุมชน 1.2.4  การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1.3.1 ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเขNาชั้นเรียนตรงเวลาการทํางานทัน ตามกําหนด และความพรNอมเพียงของการเขNาร@วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินการกระทําทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหนNาที่ที่ไดNรับมอบหมาย 1.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรูNและความเขNาใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.1.2 มีความรูNและความเขNาใจในองค]ความรูNทางดNานอื่นที่สัมพันธ]กับองค]ความรูNดNานการบัญชี
โดยสามารถบูรณาการและนํามาประยุกต]ใชNไดNอย@างเหมาะสม
7

2.1.3  มีความรูNเกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานดNานการบัญชีและอื่นๆ โดยใชNวิธีการเรียนรูNจาก ประสบการณ] 2.1.4  สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย@างต@อเนื่อง
2.2.1  ใชNวิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเนNนแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อใหNเกิดองค]ความรูN เช@น การสอนแบบบรรยาย และอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใชNสถานการณ]จําลอง การสอนแบบเนNนกรณีปÑญหา 2.2.2  การถาม-ตอบ ปÑญหาทางวิชาการในหNองเรียน 2.2.3  มอบหมายใหNนักศึกษาคNนควNาขNอมลูเพื่อจัดทํารายงานหรือโครงการ 2.2.4  ใชNกรณีศึกษาจากงานวิจัยจริง
2.3.1  ประเมินผลการเรียนรูNระหว@างภาค เช@น งานที่มอบหมาย การทดสอบย@อย รายงานการ คNนควNา และการนําเสนอ 2.3.2  การประเมินจากการสอบขNอเขียน หรือการสอบปฏิบัติ 2.3.3  การประเมินผลการเรียนรูNโดยผูNประกอบการจากสถานการณ]จริง หรือ การฝ}กงานใน
องค]กรธุรกิจ 2.3.4  การประเมินความรูNของบัณฑิตโดยการสํารวจความคิดเห็นของผูNใชNบัณฑิต
3.1.1 สามารถสืบคNนขNอมูล ประมวลขNอมูล และแนวคิดต@าง ๆ เพื่อนํามาใชNในการระบุและ
วิเคราะห]ปÑญหาที่มีความซับซNอนไดNดNวยตนเอง 3.1.2 สามารถประยุกต]และบูรณาการความรูNทางการบัญชีและดNานอื่นที่สัมพันธ]กันใชNทักษะทาง
วิชาชีพและดุลยพินิจในการแกNปÑญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม@ในสถานการณ]ต@างๆ
อยา@ งสรNางสรรค] โดยคํานึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.1.3 สามารถติดตามประเมินผลและรายงานผลไดNอย@างถูกตNองครบถNวน
3.2.1 ส@งเสริมการเรียนรูNและฝ}กกระบวนการคิดอย@างเป&นระบบจากระดับง@ายไปสู@ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใชNโจทย]แบบฝ}กหัด โจทย]ปÑญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ] จําลอง
3.2.2 จัดใหNมีรายวิชาที่เสริมสรNางการพัฒนาทักษะทางเชาวน]ปÑญญาความคิดการวิเคราะห]และ สังเคราะห]ดNานต@างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3.2.3 สอนแบบเนNนผูNเรียนเป&นสําคัญเปÅดโอกาสใหNนักศึกษาศึกษาคNนควNารายงานทางเอกสาร และรายงานหนNาชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นไดNมากขึ้น
3.3.1 ประเมินจากผลการแกNโจทย]แบบฝ}กหัดโจทย]ปÑญหากรณีศึกษาหรือสถานการณ]จําลองที่ ไดNรับมอบหมาย
3.3.2 ประเมินจากการสอบที่ตNองใชNทักษะทางปÑญญาของแต@ละรายวิชา 3.3.3 ประเมินจากรายงายผลการศึกษาคNนควNารายงานทางเอกสารและการนําเสนอหนNาชั้น
เรียนรวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากผลการแกNโจทย]แบบฝ}กหัดโจทย]ปÑญหากรณีศึกษาหรือสถานการณ]จําลองที่ ไดNรับมอบหมาย
3.3.2 ประเมินจากการสอบที่ตNองใชNทักษะทางปÑญญาของแต@ละรายวิชา 3.3.3 ประเมินจากรายงายผลการศึกษาคNนควNารายงานทางเอกสารและการนําเสนอหนNาชั้น
เรียนรวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4.2.1 มอบหมายการทํางานแบบกลุ@มย@อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป&นผูNนําการเป&นสมาชิก กลุ@มและผลัดกันเป&นผูNรายงาน
4.2.2 มอบหมายงานที่เกี่ยวขNองกับความรูNดNานวิชาชีพบัญชีโดยใหNมีการอภิปรายแสดงความ คิดเห็น
4.2.3 ใหNศึกษาการแกNปÑญหาจากกรณีศึกษาต@างๆ
4.3.1 ประเมินจากการรายงานหนNาชั้นเรียน 4.3.2 ประเมินการเป&นผูNนําและผูNตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ@ม ประเมินจาก
งานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส@งงาน 4.3.3 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.1.1 มีทักษะการใชNวิธีวิเคราะห]เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย@างสรNางสรรค]ในการแปล ความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแกNปÑญหาหรือขNอโตNแยNง
5.1.2 สามารถสื่อสารอย@างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียนรูNจักเลือกและใชNรูปแบบการ นําเสนอที่เหมาะสมกบั ปÑญหาและกลุ@มผูNฟÑงที่แตกต@างกัน
5.1.3 สามารถเลือกใชNเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวม ขNอมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
5.2.1 มอบหมายงานที่ตNองใชNทักษะในการวิเคราะห]หรือคํานวณเชิงตัวเลข 5.2.2 มอบหมายงานที่ตNองมีการสืบคNนขNอมูลสารสนเทศจากฐานขNอมูลทั้งในประเทศและ
ต@างประเทศ 5.2.3 ใหNอภิปรายและนําเสนอผลงานที่ไดNจากการสืบคNนหนNาชั้นเรียน และนําเสนอในรูปแบบ
รายงาน 5.2.4 มอบหมายกรณีศึกษาใหNนํามาวิเคราะห]และนําเสนอผลการวิเคราะห]ในหNองเรียนในรูปแบบ
สื่ออิเล็กทรอนิกส]
5.3.1 ประเมินจากรายงานกิจกรรมที่เกี่ยวขNองเชิงสถิติและคณิตศาสตตร] 5.3.2 ประเมินจากผลงานการสืบคNนขNอมูลดNวยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนําเสนอ
ผลงานเป&นรายบุคคลหรือรายกลุ@ม 5.3.3 ประเมินจากการสอบขNอเขียน 5.3.4 ประเมินทักษะการใชNภาษาพูดในการนําเสนอรายงานและการใชNภาษาเขียนจากรายงานเปน&
รายบุคคลหรือรายกลุ@ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทัักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC143 การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 13 และ 17 10 30 10 30
2 วิเคราะห]กรณีศึกษาคNนควNา การนําเสนองาน รายงาน การทํางานกลุ่ม การอ่านและสรุปบทความเกี่ยวกบั ต้นทุน การส่ง งานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปรายหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5
 

กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว. (2565). การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ทริ้ปเพิ้ลกรุ๊ป. 
กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว. (2565). การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Brewer, Perter C., Garrison, Ray H., Noreen Eric W. (2007). Introduction to Managerial Accounting. (3rd ed.) Garrison, Ray H., Noreen, Eric W., Brewer, Peter C., Cheng, Nam Sang, Yuen, Katherine C.K.(2012). Managerial Accounting. (13th ed.). New York: McGraw-Hill/Irwin.
ข้อมูลงานวิจัยเพื่อการบูรณาการการเรียนการสอน
[1] Ditkaew, K., Jersittiorasert, K., & Kaliappen, N. (2021), Strategic Cost Management on Success Logistics Management for Sustainable Performance of Expert Businesses, International Journal of Entrepreneurship, vol. 25, pp. 1-13, ISSN 1939-4675.
[2] Ditkaew, K., Chankong, W., Polprasert, P., & Jersittiorasert, K. (2021), Lean Manufacturing Implementation on Strategic Cost Management of Medical Devices Industrial, Psychology and Education, vol. 58, no. 4, pp. 4080-4087, ISSN 1553-6939.
[3] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว, ประชุม คำพุฒ, กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ และลภัสรดา พิชญาธีรนาถ, (2564), การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและงบจ่ายลงทุนผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ขยะพลาสติก: กรณีศึกษาบล็อกปูพื้นจากขยะพลาสติก, วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี, ปีที่ 8, ฉบับที่ 1, หน้า 142-153.
[4] Ditkaew K., Pichayateeranart L., & Jermsittipasert K. (2020), Success of Enterprise Resource Planning Implementation on Sustainable Performance of Logistics Business in Thailand, International Journal of Supply Chain Management, vol. 9, no. 4, pp. 340-347, ISSN 2050-7399.
[5] Ditkaew K., Pichayateeranart L., & Jermsittipasert K. (2020), The Causal Structural Relationships between Accounting Information System Quality, Supply Chain Management Capability, and Sustainable Competitive Advantage of Mize, International Journal of Supply Chain Management, vol. 9, no. 1, pp. 144-154, ISSN 2050-7399.
[6] Ditkaew K., . & Pichayateeranart L. (2019), Using Structure Equation Model for Evaluating the Impact of Activity Based Costing towards Strategic Management Innovation and Performance of Firms in Industrial Estate Authority of Thailand, Asian Administration and Management Review, vol. 2, no. 1, pp. 110-121, ISSN 2730-3683.
[7] Ditkaew K., (2019), Application of Managerial Accounting Information to Land Reform Management for Sustainable Agriculture, PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, vol. 7, no. 2, pp.174-188, ISSN 2730-3632.
[8] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว และลภัสรดา พิชญาธีรนาถ, (2561), จรรยาบรรณวิชาชีพนักบัญชีบริหารกับการนำเสนอข้อมูล, วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, ปีที่ 15, ฉบับที่ 2, หน้า 197-121.
[9] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว, (2558), คุณภาพของข้อมูลทางบัญชีบริหารที่มีต่อนวัตกรรมทางการบริหารและการเพิ่มผลผลิตเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการโรงสีข้าวในเขตภาคเหนือของประเทศไทย, วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ (Journal of Modern Management Science), ปีที่ 8, ฉบับที่ 1, หน้า 47-66.
[10] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว และกัญญากาญจน์ ไซเออร์ส, (2557), ผลกระทบของการบริหารคุณภาพที่มีต่อความสำเร็จในการบริหารโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย, วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, ปีที่ 9, ฉบับที่ 1, หน้า 33-44.
 
รายงานการประชุมวิชาการ
[11] Ditkaew K. (2018), The Effects of Cost Management Quality on the Effectiveness of Internal Control and Reliable Decision-Making: Evidence from Thai Industrial Firms, Proceeding of the 10th International RAIS Conference on Social Sciences and Humanities; Published by Atlantis Press; Part of Series: ASSEHR, Aug. 22-23, pp. 60-69, ISSN 2352-5398
[12] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว สินีนาฏ วงค์เทียนชัย และพานิช อินต๊ะ, (2560), การวิเคราะห์ต้นทุนและจุดคุ้มทุนของเครื่องต้นแบบที่ใช้สนามไฟฟ้าแบบพัลส์สำหรับฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในน้ำนม, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 12 ประจำปี 2560, 14 ธันวาคม 2560, หน้า 452-461
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จาก นักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในขNอ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาขNอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้และปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ