การพัฒนาศักยภาพมนุษย์และจิตวิทยาเชิงบวก

Human Potential Development and Positive Psychology

1 เพื่อให้เข้าใจหลักการบริหารงานเพื่อพัฒนาศักยภาพพฤติกรรมมนุษย์
2 เพื่อให้เข้าใจหลักการพัฒนาคุณลักษณะทางบวกของมนุษย์
3 เพื่อให้สามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลและสภาพแวดล้อมทางสังคมได้
4 เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ศึกษาเกี่ยวกับกลยุทธ์การบริหารงานเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ การพัฒนาคุณลักษณะทางบวกของมนุษย์ เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความหวัง การมองโลกแง่ดี ความสามารถในการปรับตัวและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การประยุกต์ทฤษฎีทางจิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีความหมาย โดยส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ผ่านตัวแบบที่ปรากฏในสื่อต่างๆ
1. อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ 2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม
1. ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสังคม 4. เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
บรรยาย ตั้งคำถาม อภิปรายกลุ่ม case study
พฤติกรรมการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม, case study ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1 เข้าใจหลักการบริหารงานเพื่อพัฒนาศักยภาพพฤติกรรมมนุษย์ 2 เข้าใจหลักการพัฒนาคุณลักษณะทางบวกของมนุษย์ 3 สามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลและสภาพแวดล้อมทางสังคมได้ 4 สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม case study การมอบหมายงาน 
ทดสอบกลางภาคและปลายภาค การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ 2. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณภาพในการทำงาน
3. สามารถวิเคราะห์ศักยภาพตนเองและบุคคล และวางแผนการพัฒนาศักยภาพบุคคล
4. สามารถพัฒนาคุณลักษณะเชิงบวกในตนเอง 5. สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป โดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ 
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม วิเคราะห์พฤติกรรม ออกแบบการพัฒนา การมอบหมายงาน  
การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง 2. สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำและสมาชิกกลุ่มในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน 3. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ในสถานการณ์ที่หลากหลายและสถานการณ์เฉพาะหน้า 4. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง องค์การและสังคมอย่างต่อเนื่อง
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม มอบหมายงาน การนำเสนอผลงาน
การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พูด เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถสื่อสารเชิงบวกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูล 3. สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม มอบหมายงาน 
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา มีคุณธรรมจริยธรรม 5 มีความรอบรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา จรรยาบรรณ ความรู้ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การวางแผน ความเป็นผู้นำ ความรับผิดชอบ คิดสร้างสรรค์ มนุษยสัมพันธ์ การค้นคว้า การสื่อสาร การนำเสนอ
1 GEBSO504 การพัฒนาศักยภาพมนุษย์และจิตวิทยาเชิงบวก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-3, 4-6 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 30% 30%
2 1.4-1.5, 2.3-2.5, 3.2-3.4, 4.7, 5, 6.1-6.3 การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม การวิเคราะห์และการนำเสนอ การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการนำเสนอ 2-5, 7, 10-12, 16 30%
3 1-6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
Richardson, Ken (2003). The Origins of Human Potential: Evolution, Development and
 Psychology. NY: Taylor&Francis ltd. 
Vernon, David (2009).  Human Potential : Exploring Techniques Used to Enhance Human Performance. NY: Taylor&Francis ltd. 
R. F. Subotnik, P. Olszewski-Kubilius, and F. C. Worrell. (2019). The Psychology of High Performance:Developing Human Potential Into Domain-Specific Talent.  US: the American Psychological Association.
 
1.1 นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา 1.2 นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
2.1 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 2.2 ผลงานและการนำเสนอ 2.4 ผลการทดสอบ
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเองและประเมินตนเอง 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี 5.2 สัมมนาผู้คุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา