คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี
Mathematics for Accountant
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี คณิตศาสตร์เบื้องต้น เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสองตัวแปร ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชั่น การหาอนุพันธ์ ดอกเบี้ยเชิงเดียว ดอกเบี้ยทบต้น มูลค่าปัจจุบัน มูลค่าในอนาคต และหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรม อัลกอริทึม การประยุกต์หลักการทางคณิตศาสตร์กับทางการบัญชีและการเงิน
เข้าใจ เรื่องอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
สามารถแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้
สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันได้
สามารถหาความต่อเนื่องของฟังก์ชันได้
สามารถแก้สมการฟังก์ชันเลขชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึมได้
สามารถหาอนุพันธ์ได้
สามารถหาค่าดอกเบี้ยเชิงเดียว และดอกเบี้ยทบต้นได้
สามารถคำนวณมูลค่าปัจจุบัน มูลค่าในอนาคต
อธิบายหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมได้
สามารถเขียน และอ่านอัลกอริทึมได้
สามารถประยุกต์ความรู้ในตัวอย่างทางบัญชีและการเงินได้
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และสองตัวแปร ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชั่น การหาอนุพันธ์ ดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว ดอกเบี้ยทบต้น มูลค่าปัจจุบัน มูลค่าในอนาคต และหลักการเบื้องต้น เกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรม อัลกอริทึม การประยุกต์หลักการทางคณิตศาสตร์กับทางบัญชีและการเงิน
ในคาบกิจกรรม ขึ้นอยู่กับความต้องการของนักศึกษา
1. มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2. ไม่ประเมิน
3. แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวัง รอบคอบ ในการทำงาน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในเนื้อหาวิชาเรียน
2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1. ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาที่เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการทำทุจริตในการสอบ
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. ไม่ประเมิน
2. มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3. ไม่ประเมิน
4. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพ
1. ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นความคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การยกตัวอย่าง การถาม ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2, มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
3. ไม่ใช้
4. ไม่ใช้
1. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2. การประมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
3. ไม่ประเมิน
4. ไม่ประเมิน
5. ไม่ประเมิน
1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2 มีความสามารถในการสืบค้นและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3 ไม่ประเมิน
4 ไม่ประเมิน
1. ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับ
ง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
2 จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
4. ไม่ใช้
1 ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
2 ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
3 ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอ หน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1. มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2. มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ไม่ประเมิน
1. มอบหมายงานให้ทำงานร่วมกันเป็นทีม เช่น การทำโ๕รงงาน การแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษา การค้นคว้าอิสระ การทำวิจัย การจัดนิทรรศการ เป็นต้น โดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกทีม และผลัดกันเป็นผู้นำเสนอ
2. มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3. ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ
1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2 ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
3 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2. ไม่ประเมิน
3. มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
1 มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
2 มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
3. ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอ ในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. ไม่ใช้
1 ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์
2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย และนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3 ประเมินจากการสอบข้อเขียน
4 ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 4.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 4.2 ความรู้ | 4.3 ทักษะทางปัญญา | 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี | 3. แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวัง รอบคอบ ในการทำงาน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม | 2. มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน | 4. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพ | 1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม | 2 มีความสามารถในการสืบค้นและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม | 1. มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น | 2. มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ | 1. มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ | 3. มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์ |
1 | BACAC112 | คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 1. ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาที่เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากการทำทุจริตในการสอบ 3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 10 |
2 | 2.2 ด้านความรู้ | 1. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ 2. การประมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ | หลังจากจบแต่ละเรื่อง สอบกลางภาค และสอบปลายภาค | 60 |
3 | 2.3 ด้านทักษะทางปัญญา | 1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม 2 มีความสามารถในการสืบค้นและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม | 10 | |
4 | 2.4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 2 ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน 3 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน | ตลอดช่วงเงลา | 10 |
5 | 2.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 1 ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์ 2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย และนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 3 ประเมินจากการสอบข้อเขียน 4 ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม | 10 |
คณิตศาสตร์ธุรกิจ (อาภรพันธ์ ว่องไว)
สมการเชิงอนุพันธ์ (พินิจ เพิ่มพงศ์พันธ์)
คณิตศาสตร์ประกันชีวิตเบื้องต้น (ชัยรัตน์ มดนาค)
สมการเชิงอนุพันธ์ (พินิจ เพิ่มพงศ์พันธ์)
คณิตศาสตร์ประกันชีวิตเบื้องต้น (ชัยรัตน์ มดนาค)
- แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน เป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินผลการสอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
- แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน เป็นแบบประเมินที่อาจารย์ผู้สอนในระหว่างภาคการศึกษา และปลายภาคการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Google form รวมถึงถามความเห็นนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอนของนักศึกษา
- แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน เป็นแบบประเมินที่อาจารย์ผู้สอนในระหว่างภาคการศึกษา และปลายภาคการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Google form รวมถึงถามความเห็นนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสอนของนักศึกษา
สอนบรรยาย / ปฏิบัติ / ใช้ทฤษฎีเกมส์ (เพื่อวัดการคิดเชิงระบบ)
ใช้กลไก Review Analyze Apply
Review คือ ทบทวนว่าเราเรียนอะไรมาบ้าง Analyze วิเคราะห์ว่าที่เรียนผู้สอนต้องการให้รู้อะไร / ทำอะไรได้ Apply ประเมินว่าจะนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
Review คือ ทบทวนว่าเราเรียนอะไรมาบ้าง Analyze วิเคราะห์ว่าที่เรียนผู้สอนต้องการให้รู้อะไร / ทำอะไรได้ Apply ประเมินว่าจะนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร
ภาคการศึกษาที่ผ่านมีการให้ข้อเสนอแนะในเรื่องการทบทวนเนื้อหา โดยการอัดคลิปที่สอนออนไลน์