กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา

Process of Thinking and Problem Solving

1.1 เข้าใจแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการคิด
1.2 วิเคราะห์ให้เหตุผลในการนำกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
1.3 มีความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหม่
1.4 ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี เทคนิคและกระบวนการพัฒนาการฝึกคิดแบบต่างๆ หลักการใช้เหตุผล แรงบันดาลใจ ส่งเสริมความคิดโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นกรณีศึกษา
      Study concepts, theories, techniques and development processes for thinking and reasoning; inspiration for encouraging ideas; Lanna and Thai wisdom; innovation and modern technologies are employed as a case study.
1 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การนำเสนอผลงาน
2. ผลงานนิทรรศการ
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
พิจารณาจากการทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือการค้นคว้าหาข้อมูล
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
พฤติกรรมการแสดงออกในระหว่างดำเนินกิจกรรม
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนที่นักศึกษาต้อง ติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  สำหรับ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
ประเมินจากผลงานของนักศึกษาในระหว่างดำเนินกิจกรรม
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBIN101 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3,1.4,4.1,4.2, 4.4 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-17 10
2 1.1, 1.3, 1.4 ,2.2, 3.2, 4.1, 5.1, 1.3, 2.3, 4.2, 4.4 ,5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา กิจกรรมจำลอง 10-16 10
3 2.2, 3.2 แบบทดสอบ กิจกรรมย่อยในชั้นเรียน 2-8 60
4 1.1, 1.3, 1.4 ,2.2, 3.2, 4.1, 5.1, 1.3, 2.3, 4.2, 4.4 ,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน การแสดงผลงานนิทรรศการ 12-16 20
ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.   (2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ฉวีวรรณ แก้วไทรฮะ ม ไชยยา แซ่ยับ, ชัยณรงค์ ขันผนึก , เกียรติศักดิ์ รัตนสิงหา, วรชัย ยงพิทยาพงศ์ , นพพร พลกรรณ์ ,สุวิมล มั่นมงคล และ วรรณี ธรรมโชติ. (2546).
การคิดและการตัดสินใจ . กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ.
   สุวิทย์ มูลคำ. (2548). ครบเครื่องเรื่องการคิด. กรุงเทพฯ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.
ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษาจากเว็ปไซด์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา
กระบวนการปรับปรุงการสอนในรายวิชานี้ ได้กำหนดให้มีการนำข้อเสนอแนะของนักศึกษา รวมทั้งข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้สอนที่ได้ระบุไว้ใน มคอ. 5 ในแต่ละเทอม พร้อมทั้งผลที่ได้จากการทำวิจัยในชั้นเรียน และการประชุมวิพากษ์ของ คณาจารย์ทุกท่านที่ได้ร่วมสอนในเทอมนั้นๆ มาใช้เพื่อปรับปรุงการสอนให้ดียิ่งขึ้น
นำผลการเรียนของนักศึกษาที่ได้ มาตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้จาก การส่งรายงาน คะแนนสอบย่อย ในแต่ละครั้ง รวมทั้งคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษาทั้งหมดที่ลงเรียน
นำผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษาจากเวปไซด์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งผลการเรียน ของนักศึกษาทุกคนที่ได้ลงทะเบียนเรียนในเทอมนั้นๆ และข้อเสอนแนะของคณาจารย์ผู้สอนทุกท่าน ใน มคอ. 5 มาทำการปรับปรุงเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ในเทอมต่อๆ ไป