วิจัยธุรกิจ

Business Research

เพื่อรู้และเข้าใจความสำคัญและขอบเขตการวิจัยธุรกิจ เพื่อเข้าใจกระบวนการวิจัยธุรกิจ เพื่อสามารถออกแบบและจัดทำโครงการวิจัยธุรกิจ เพื่อรู้และเข้าใจความสำคัญและขอบเขตการวิจัยธุรกิจ เพื่อเข้าใจกระบวนการวิจัยธุรกิจ เพื่อสามารถออกแบบและจัดทำโครงการวิจัยธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานในการทำวิจัยธุรกิจ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ รวมทั้งสามารถนำโครงการวิจัยนำไปบูรณาการเรียนการสอนได้
ศึกษาความสำคัญและขอบเขตของการวิจัยธุรกิจ กระบวนการทำวิจัยธุรกิจ การจัดทำโครงการวิจัยธุรกิจเบื้องต้น โดยครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับ การค้นหาปัญหาวิจัย จุดประสงค์วิจัย การออกแบบวิจัย การเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการจัดทำรายงานวิจัย ทั้งนี้ให้มีการปฏิบัติงานจริง
-อาจารย์ประจำรายวิชา  กำหนดและประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านในชั้นเรียน และ Facebook
     -อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือผ่านทางโทรศัพท์ อีเมล์ เป็นต้น
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ภาวะผู้นำ และสร้างจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจในอนาคต โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการวิจัยธุรกิจต่อบุคคล องค์กร และสังคม

                       7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 สอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับงานวิจัยธุรกิจ
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับงานวิจัยทางธุรกิจ
ให้นักศึกษานำผลการวิเคราะห์จากงานวิจัยธุรกิจจริงมาอภิปรายกลุ่มและเปลี่ยนความคิดเห็นเรียนรู้ร่วมกัน
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาได้อย่างถูกต้องตามหลักการของแนวคิดและทฤษฏี
1.3.4   พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการของทฤษฏี
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญ กระบวนการของการวิจัยทางธุรกิจ รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรได้จริง
        2.2.1 สอนแบบบรรยายประกอบกับการยกตัวอย่าง
  2.2.2 ทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์สถานการณ์จริงขององค์กรธุรกิจตามรูปแบบของกระบวนการวิจัย
        2.2.3 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning)
     2.2.4 การศึกษาโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student Center)
2.3.1 ทดสอบสอบกลางภาค และ สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem–Based Learning
2.3.3 พิจารณาจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรียนรู้ร่วมกันอย่างถูกต้องตามหลักการ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการศึกษาวิจัยธุรกิจ
      3.2.1 สอนแบบบรรยายประกอบกับการยกตัวอย่าง
      3.2.2 ทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์สถานการณ์จริงขององค์กรธุรกิจตามรูปแบบของกระบวนการวิจัย
      3.2.3 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning)
      3.2.4 การศึกษาโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student Center)
3.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2 พิจารณาจากการอภิปรายกลุ่ม
3.3.3 พิจารณาจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรียนรู้ร่วมกันอย่างถูกต้องตามหลักการ
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4   ทักษะในการปฏิบัติสัมพันธ์กับบุคคล สถานภาพในสังคมระดับต่าง ๆ 4.2 วิธีการสอน
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการจัดทำรายงานการวิจัยธุรกิจ
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญของการวิจัย กระบวนการวิจัย หรือการอ่านบทความหรือวารสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการจัดทำรายงานการวิจัยธุรกิจ
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญของการวิจัย กระบวนการวิจัย หรือการอ่านบทความหรือวารสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
4.3.2  ประเมินจากการอภิปรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.3   ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์การคิดคำนวณ เชิงตัวเลขจากการกรณีศึกษา
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานโดยผ่านทางอีเมล์ หรือ facebook
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
   5.3.1   ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
   5.3.2   ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.3.3   ประเมินจากการทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 2 3 4 5 1
1 BBABA206 วิจัยธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1,3.3.1, 4.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 25% 25%
2 1.3.2,2.3.2, 3.3.2,4.3.2, 4.3.3,5.3.1, 5.3.2 การเขียนรายงานวิจัยแล้วนำเสนอรายงานเป็นกลุ่ม การอภิปรายกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.2, 2.2, 3.2, 4.2, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน และแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 10%
รองศาสตราจารย์ธานินท์  ศิลป์จารุ.การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี, 2553.
วัชราภรณ์  สุริยาภิวัฒน์. วิจัยธุรกิจยุคใหม่.ครั้งที่ 4,กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
-
    เว็บไซต์ E-learning มหาวิทยาลัยต่างๆ
  การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้เรียนและผู้สอน


- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - สังเกตเกณฑ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - ข้อเสนอแนะผ่านออนไลน์ เช่น facebook ของกลุ่มรายวิชาผู้สอนได้จัดทำเป็นกลุ่มรายวิชาเป็นช่องทางสำหรับการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาที่เรียน
รายงานผลการค้นคว้าจากงานที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอผลงานของนักศึกษา การให้ข้อเสนอแนะและการตอบคำถามของนักศึกษา


การประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
    หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป การปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกการวิเคราะห์ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

ทบทวนงานที่ให้ผู้เรียนไปค้นคว้า จัดทำว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ทบทวนข้อสอบกลางภาคและปลายภาคที่ใช้วัดความรู้ว่ามีความยากง่ายเหมาะสมเพียงใด ทบทวนรายงานกลุ่มว่ามีความเหมาะสม คุณประโยชน์ต่อนักศึกษาที่จะได้รับไปประยุกต์ใช้กับตนเองภายหลังจบการศึกษาไปแล้วว่ามีประโยชน์ต่อผู้เรียนมากน้อยเพียงใด
      ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

ทบทวนงานที่ให้ผู้เรียนไปค้นคว้า จัดทำว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ทบทวนข้อสอบกลางภาคและปลายภาคที่ใช้วัดความรู้ว่ามีความยากง่ายเหมาะสมเพียงใด