กลศาสตร์วัสดุพื้นฐานในงานเครื่องจักรกลเกษตร

Basic Material Mechanics for Agricultural Machinery

1. สามารถเลือกใช้และแบ่งประเภทวัสดุได้ถูกต้องกับการใช้งาน
2. เข้าใจความเค้น ความเครียด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การบิด แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
3. เข้าใจการเชื่อมต่อแบบหมุดเกลี่ยว หมุดย้ำ และการเชื่อม
4. เข้าใจการออกแบบคาน เพลา และเสาค้ำยัน
เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน และเทคโนโลยีด้านวัสดุ
ศึกษาเกี่ยวกับเลือกใช้วัสดุและการแบ่งประเภทให้ถูกต้องกับการใช้งาน ความเค้นและความเครียด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การบิด แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การเชื่อมต่อแบบหมุดเกลียว หมุดย้ำ และการเชื่อม คาน เพลา และเสาค้ำยัน เลือกใช้วัสดุและการแบ่งประเภทให้ถูกต้องกับการใช้งาน
2 ชั่วโมง
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคล องค์กรและสังคม
บรรยายในชั้นเรียน
สังเกตุพฤติกรรม
มีความเข้าใจในหลักทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหารายวิชา
บรรยายและฝึกทักษะการคำนวณและประเมินผล
สอบเก็บคะแนน
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
บรรยายในชั้นเรียน ฝึกทักษะการคำนวณและประเมินผล
สอบเก็บคะแนน
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน
บรรยายในชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมและประเมินทักษะการทำงานร่วมกันในชั้นเรียน
สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค
บรรยายในชั้นเรียนและนำเสนองานในชั้นเรียน
สังเกตุพฤติกรรมและสอบเก็บคะแนน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับ ความสําคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคลองค์กรและสังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เครื่องจักรกลเกษตร 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรให้ตรงตามข้อกําหนด 4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งการ นําไปประยุกต์ 5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชํานาญทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรอย่างต่อเนื่อง 6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 7. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้งานได้จริง 8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตรกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4. สามารถประยุกตความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรได้ อย่างเหมาะสม 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน 3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4. มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ นําเสนอ อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 BSCFM106 กลศาสตร์วัสดุพื้นฐานในงานเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน การทำงานร่วมกัน เข้าชั้นเรียน 1-17 10
2 ทักษะการเรียนรู้และการคำนวณ สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-17 70
3 ทักษะการเรียนรู้และความเข้าใจ รายงาน/การบ้าน/แบบฝึกหัด 1-17 20
ชนะ กสิภาร์. 2546. ความแข็งแรงของวัสดุ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเนือ.