แผนธุรกิจสำหรับงานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์

Business Plan for Art and Creative Design

1. เพื่อศึกษาและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจสำหรับงานสร้างสรรค์
2. เพื่อสามารถวางกลยุทธ์ทางธุรกิจในการจัดทำแผนธุรกิจและดำเนินธุรกิจสำหรับงานสร้างสรรค์
3. เพื่อร่วมกันวิเคราะห์และมีส่วนร่วมในการศึกษาโดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การประมวลความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการจัดการธุรกิจสำหรับงานสร้างสรรค์ กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดมาจัดทำและพัฒนาเป็นแผนธุรกิจและกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจ
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 7 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1) มีความรู้และความเข้าใจในจรรยาบรรณการทำธุรกิจ
- มีความเข้าใจและมีความตระหนักในการทำธุรกิจตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม
- มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและสังคม
- สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ และข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนได้
1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน
2) กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
1) ประเมินจากการแสดงความเห็นในการถาม-ตอบในห้องเรียน
2) กรณีศึกษาและแบบทดสอบด้านจริยธรรม
3) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนทุกสัปดาห์ เช่น การมีจิตสาธารณะใช้วิธีการสังเกตจากการให้ความร่วมมือในการบริการอุปกรณ์การสอนแก่เพื่อน ๆ การช่วยรวบรวมงานจากเพื่อน ๆ เพื่อส่งอาจารย์ และให้คะแนน 10%
2.1 ความรู้ที่จะได้รับ
1) มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ของบริหารธุรกิจ
2) มีความรู้และความเข้าใจโครงสร้างการทำแผนธุรกิจเพื่องานสร้างสรรค์
2.2 วิธีการสอน
1) บรรยาย ยกตัวอย่าง และถาม – ตอบในชั้นเรียน
2) กรณีศึกษา
2.3 วิธีการประเมินผล
1) การตอบคำถามในชั้นเรียน การนำเสนองานในชั้นเรียน
2) การสอบปลายภาค
1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆเพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
-สามารถสืบค้นข้อมูล บทความ ที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจ การทำแผนธุรกิจ
2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพ และดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
-สามารถกำหนดวิธีการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมสำหรับสถานการณ์ กิจการ หน่วยงานที่มีความแตกต่างกัน รวมทั้งสามารถเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่ตรวจพบจากการทำธุรกิจ
3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
- สามารถสื่อสารและรายงานต่าง ๆ ด้านธุรกิจอย่างถูกต้องและครบถ้วน
1)ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
2) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม – ตอบในชั้นเรียน ทั้งเดี่ยวและเป็นกลุ่ม
3) การให้นักศึกษาสรุปความรู้
1) การนำเสนอกรณีศึกษาและการสอบปลายภาค
2) คุณภาพของงานที่มอบหมายให้ทำ
1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้ ตามข้อตกลงที่กำหนดไว้
2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
- สามารถทำงานเป็นกลุ่มเป็นทีมได้โดยมีความร่วมมือที่ดี สามัคคี ช่วยเหลือกันเพื่อให้งานออกมาสำเร็จ
3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
- สามารถแสดงความคิดเห็นเมื่อทำงานกลุ่ม หรือในชั้นเรียน เมื่อมีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น หรือแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
1) มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัด กันเป็นผู้รายงาน
2) มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านธุรกิจโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3) ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากรณีศึกษาต่างๆ
1) ประเมินจากงานที่มอบหมาย
2) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
3) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์
2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูล
3) ให้นักศึกษาทำสื่อประกอบการรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1) ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
2) ประเมินจากการสอบปลายภาค
3) ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนองานและการใช้ภาษาเขียนจากงานที่มอบหมายเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ . ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน 2) กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายเรียบร้อยสมกับความเป็นนักบริหาร 2) กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ 1) บรรยาย ยกตัวอย่าง และถาม – ตอบในชั้นเรียน 2) กรณีศึกษา 1) ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 2) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม – ตอบในชั้นเรียน ทั้งเดี่ยวและเป็นกลุ่ม 3) การให้นักศึกษาสรุปความรู้ 1) มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัด กันเป็นผู้รายงาน 2) มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านธุรกิจโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 3) ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากรณีศึกษาต่างๆ 1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์ 2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูล 3) ให้นักศึกษาทำสื่อประกอบการรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1 MAAAC120 แผนธุรกิจสำหรับงานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 การสอบปลายภาค 16 20%
2 1,2,3,4,5 1,2,3,4,5 กรณีศึกษา ทุกสัปดาห์ 50%
3 12,3,4,5 รายงานกลุ่ม 5 และ 8 20%
4 12,3,4,5 การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
BV.Berry,T. (2000).Hurdle: The Book on Business Planning. Garrison, R. H., Noreen, E. W., & Brewer, P. C. (2008). Managerial accounting. Boston: McGraw-Hill/Irwin. Jurgen, A. (2012) How to Change the World: Change Management 3.0. Rotterdam: Jojo Ventures. Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). Marketing management (13th ed.). New Delhi: Prentice-Hall.
บทความในวารสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องการทำธุรกิจและงานสร้างสรรค์
เว็บไซต์ การเสวนาด้านธุรกิจต่างๆ
ใช้การทดสอบปฏิบัติ ในแต่ละบท
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยในระบบออนไลน์
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการควบคุมการปฏิบัติการและการตรวจสอบ
ให้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบ และ การตัดเกรด
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ เป็นผู้นำเสนอข้อสอบ และ การตัดเกรด ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2 ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน วิธีการประเมิน และเนื้อหารายวิชา