การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์

Structural Packaging Design

เพื่อฝึกปฏิบัติ สัดส่วน องค์ประกอบ รูปร่างและรูปทรง รูปแบบมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์ประเภทกระดาษ พลาสติก โลหะ แก้ว และเซรามิก
1. ฝึกปฏิบัติ สัดส่วน องค์ประกอบ รูปร่างและรูปทรง รูปแบบมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์
2. ฝึกปฏิบัติ การขึ้นรูปร่างและรูปทรงประเภทกระดาษ พลาสติก โลหะ แก้ว และเซรามิก
พื่อฝึกปฏิบัติ สัดส่วน องค์ประกอบ รูปร่างและรูปทรง รูปแบบมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์ประเภทกระดาษ พลาสติก โลหะ แก้ว และเซรามิก
การให้คำปรึกษาและแนะนำจำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ผ่านlimeกลุ่ม รายบุคคลและรายกลุ่ม  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ฝึกปฏิบัติพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 สามารถปฏิบัติตามหลักการในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติงานพร้อมยกตัวอย่าง บรรจุภัณฑ์ตามท้องตลาด
2.3.1 สอบปฏิบัติกลางภาค สอบปฏิบัติปลายภาค กระบวนขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์มาตราฐาน ตามวัสดุ
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานภายในชั่วโมงเรียน และงานที่สั่งนอกชั่วโมงเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการขึ้นรูปโครงสร้างมาตราฐานและวัสดุบรรจุภัณฑ์
3.1.2 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์การขึ้นรูปโครงสร้างทางบรรจุภัณฑ์
3.1.3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การให้นักศึกษาปฏิบัติงาน 
3.2.2 มีเอกสารใบงานให้นักศึกษาปฏิบัติงาน 
3.3.1 สอบปฏิบัติกลางภาค สอบปฏิบัติปลายภาค กระบวนขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์มาตราฐาน ตามวัสดุ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานและแก้ไขได้อย่างเหมาะสม พร้อมช่วยชี้แนะเพื่อนภายในชั้นเรียน
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงาน
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 ปฏิบัติตามงานที่มอบหมาย
6.2.2 ตรวจดูความถูกต้องของการปฏิบัติงานรายบุคคล
ุ6.3.1 ประเมินงานตามการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
ุ6.3.2 ประเมินความถูกต้องตามการปฏิบัติงานตามรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAAPD105 การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม, 2.1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง, 2.2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ, 3.2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์, 4.2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ, 5.3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรมม, 6.1. มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 15% 15%
2 1.3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ, 2.1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง, 2.4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา, 3.3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้, 3.4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน, 4.3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง, 5.1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, 5.2.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, 5.3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม, 6.1. มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การมอบหมายศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย สัปดาห์ที่1-17 60%
3 1.2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น, 2.3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม, 3.1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน, 4.1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี, การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน สัปดาห์ที่1-17 10%
ชัยรัตน์ อัศวางกูร. ออกแบบให้โดนใจ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2548. ปุ่น  คงเกียรติเจริญ, สมพร คงเกียรติเจริญ.  บรรจุภัณฑ์อาหาร  . กรุงเทพมหานคร  : แพคเมทส์, 2541. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.  หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์   กรุงเทพมหานคร : บางกอกบล๊อค , 2548. ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย   วารสารการบรรจุภัณฑ์. อรสา จิรภิญโญ.   วิวัฒนาการบรรจุภัณฑ์ . กรุงเทพมหานคร : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง , 2548. อาทิตย์ ฉิมพาลี.   PACKAGING DESIGN การออกแบบบรรจุภัณฑ์  . กรุงเทพมหานคร :ก.พล พิมพ์, มปป.
หนังสือเรียบเรียง การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และผลงานการออกแบบของนักศึกษาที่จักส่งผลงานเข้าประกวดต่างๆ เช่น ThaiStar, SCG เป็นต้น
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง http://www.artnanastudio.com/ http://www.mew6.com http://www.bunjupun.com
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้             - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน             - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน             - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา             - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้             - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน             - ผลการสอบ             - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้             - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน             - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้             - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร             - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้             - ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4             - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ