กลศาสตร์วิศวกรรมด้านสถิตยศาสตร์

Engineering Mechanics Statics

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์พื้นฐานการสมดุลแรง แรงเสียดทาน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการของแรง การรวมแรง แรงเสียดทาน จุดศูนย์ถ่วงมวล โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ ในชิ้นส่วนของโครงสร้าง ชิ้นส่วนภาพวัตถุของเครื่องจักรกล แรงต่าง ๆในชิ้นส่วนของโครงสร้างและเครื่องจักรกลเพื่อการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์และเครื่องมือคำนวณในการแก้ปัญหาการคำนวณการรวมแรงเสียดทาน จุดศูนย์ถ่วงมวล โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่
 
 
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ ระบบแรง แรงลัพธ์ การสมดุล การวิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนโครงสร้าง แรงกระจาย จุดศูนย์กลางมวล จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ โมเมนต์เฉื่อยของพื้นที่ และแรงเสียดทาน
1.ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
2.ให้นักศึกษาวิเคราะห์การใช้ความรู้กลศาสตร์ทางวิศวกรรมต่องานด้านกลศาสตร์
3.ไม่คัดลอกงานผู้อื่น
การสอดแทรกกรณีศึกษาระหว่างการเรียนการสอนในรายวิชา การมอบหมายงานให้ทำโดยเน้นย้ำให้ทำด้วยตนเอง การกำหนดส่งงานและการเช็คชื่อตามเวลา การตั้งคำถาม กระตุ้นความอยากรู้ และการอยากทำโจทย์
1.สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาการคัดลอกงานจากผู้อื่น การทุจริตในการสอบ
2.การให้คะแนนเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา การแต่งกายให้ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3.ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 
2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
3 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสมรวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
4 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
การบรรยาย การฝึกทำโจทย์ตัวอย่าง การให้แบบฝึกหัด การให้งานกลุ่มและเขียนรายงานรายบุคคล
1. จากแบบฝึกหัด
2. สอบกลางภาคเรียน
3. สอบปลายภาคเรียน
1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาได้
2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถสืบค้นข้อมูลและค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง 
1. การบรรยายตัวอย่างจากปัญหาจริง
2. การให้โจทย์ขนาดใกล้เคียงความจริง
การประเมินจากรายงาน และการสอบย่อย
มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับตนเองและงานที่ได้รับมอบหมาย
 
ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในสามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการ การแสดงความคิดเห็นแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและให้ความสำคัญในการทำงาน ความรับผิดชอบ และการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่น
1. ใบงาน
2. แบบฝึกหัด
3. ประเมินจากผลงานกลุ่ม รายงานและการนำเสนอผลงาน
สามารถสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
การประเมินจากรายงาน ประเมินจากการนำเสนอ การสอบย่อย
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกลกับศาสตร์ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
1. การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งรูปเอกสาร และการพูดประกอบสื่อเทคโนโลยี
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. การประเมินผลจากความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 TEDCV038 กลศาสตร์วิศวกรรมด้านสถิตยศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 2.4,2.5, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1-5.3, 6.2,6.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 25%, 25%
2 2.1, 2.3, 2.4,2.5, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1-5.3, 6.2,6.4 การทำงานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1, 1.2, 1.4, 2.1, 2.3, 2.4,2.5, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1-5.3, 6.2,6.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- รีระศักดิ์ กรัยวิเซียร "กลศาสตร์ริศวกรรม ฉบับเสริมประสบกรณ์ภาคสถิตศาสตร์" ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2540
- Hibbeler, R.C. "Engineering Mechanes" Prentice-Hall, Englewood Cliffs, N
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ