การบริหารการจัดซื้อ

Purchasing Management

ศ ึก ษ า เก ี่ย ว ก ับ บ ท บ า ท ก า ร จ ัด ซ ื้อ แ ล ะ จ ัด ห า น โ ย บ า ย ใ น ก า ร จ ัด ซ ื้อ แ ล ะ จ ัด ห า ว ัต ถ ุด ิบ ส ่ว น ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ส ิน ค ้า ส ำ เร ็จ ร ูป ก า ร ค ัด เล ือ ก แ ล ะ ป ร ะ เม ิน ผ ล ผ ู้จ ัด ส ่ง ส ิน ค ้า แ ล ะ ว ัต ถ ุด ิบ ก า รว า ง แ ผ น ก า รจ ัด ซ ื้อ ร า ย ง า น เก ี่ย ว ก ับ ก า ร จ ัด ซ ื้อ ก า รจ ัด ก า ร ค ว า ม ส ัม พ ัน ธ ์ระ ห ว ่า งอ งค ์ก รก ับ ผ ู้ส ่งส ิน ค ้า แ ล ะ ว ัต ถ ุด ิบ ว ัต ถ ุป ระ ส งค ์แ ล ะ เป ้าห ม าย ข อ ง ส ิน ค ้า ค ง ค ล ัง ว ิธ ีก า ร ห า ป ร ิม า ณ แ ล ะ เว ล า ข อ ง ส ิน ค ้า ค ง ค ล ัง ห ล ัก ก า ร จ ัด ก า ร ว ัส ด ุค ง ค ล ัง แ บ บ ด ั้งเด ิม แ ล ะ แ บ บ ฐ า น ศ ูน ย ์ ก า รน ่า เท ค น ิค แ ล ะ ว ิธ ีก า รท ี่ท ัน ส ม ัย แ ล ะ ม ีป ระ ส ิท ธ ิภ าพ ม า ใช ้ใน ก ารต ัด ส ิน ใน ด ้า น วัส ด ุส ิน ค ้าค งค ล ัง S tu d ie s o n th e ro le o f purchasing and su p p ly. P olicies o n p ro c u re m e n t and s u p p ly o f m a te ria ls, c o m p o n e n ts a n d in s ta n t p ro d uc ts. T h e s e le c tio n a n d e v a lu a tio n o f su p p lie rs and ra w m a te ria ls. T h e p ro c u re m e n t p la n, th e re p o rt o n p ro c u re m e n t, m anaging re la tio n s h ip s b e tw e e n o rg an iza tio n s a n d sup p liers. T h e p u rp o s e and g oal o f th e in v e n to ry . H o w t o d e te rm in e th e a m o u n t a n d tim in g o f in v e n to ry . T h e tra d itio n a l in v e n to ry m a n a g e m e n t a n d a z e ro base.
เพื่อพัฒนาเนื้อหาการสอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ศ ึก ษ า เก ี่ย ว ก ับ บ ท บ า ท ก า ร จ ัด ซ ื้อ แ ล ะ จ ัด ห า น โ ย บ า ย ใ น ก า ร จ ัด ซ ื้อ แ ล ะ จ ัด ห า ว ัต ถ ุด ิบ ส ่ว น ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ส ิน ค ้า ส ำ เร ็จ ร ูป ก า ร ค ัด เล ือ ก แ ล ะ ป ร ะ เม ิน ผ ล ผ ู้จ ัด ส ่ง ส ิน ค ้า แ ล ะ ว ัต ถ ุด ิบ ก า รว า ง แ ผ น ก า รจ ัด ซ ื้อ ร า ย ง า น เก ี่ย ว ก ับ ก า ร จ ัด ซ ื้อ ก า รจ ัด ก า ร ค ว า ม ส ัม พ ัน ธ ์ระ ห ว ่า งอ งค ์ก รก ับ ผ ู้ส ่งส ิน ค ้า แ ล ะ ว ัต ถ ุด ิบ ว ัต ถ ุป ระ ส งค ์แ ล ะ เป ้าห ม าย ข อ ง ส ิน ค ้า ค ง ค ล ัง ว ิธ ีก า ร ห า ป ร ิม า ณ แ ล ะ เว ล า ข อ ง ส ิน ค ้า ค ง ค ล ัง ห ล ัก ก า ร จ ัด ก า ร ว ัส ด ุค ง ค ล ัง แ บ บ ด ั้งเด ิม แ ล ะ แ บ บ ฐ า น ศ ูน ย ์ ก า รน ่า เท ค น ิค แ ล ะ ว ิธ ีก า รท ี่ท ัน ส ม ัย แ ล ะ ม ีป ระ ส ิท ธ ิภ าพ ม า ใช ้ใน ก ารต ัด ส ิน ใน ด ้า น วัส ด ุส ิน ค ้าค งค ล ัง S tu d ie s o n th e ro le o f purchasing and su p p ly. P olicies o n p ro c u re m e n t and s u p p ly o f m a te ria ls, c o m p o n e n ts a n d in s ta n t p ro d uc ts. T h e s e le c tio n a n d e v a lu a tio n o f su p p lie rs and ra w m a te ria ls. T h e p ro c u re m e n t p la n, th e re p o rt o n p ro c u re m e n t, m anaging re la tio n s h ip s b e tw e e n o rg an iza tio n s a n d sup p liers. T h e p u rp o s e and g oal o f th e in v e n to ry . H o w t o d e te rm in e th e a m o u n t a n d tim in g o f in v e n to ry . T h e tra d itio n a l in v e n to ry m a n a g e m e n t a n d a z e ro base.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
™1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
™2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความ สำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
™1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
™2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 
™1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
™2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน
™4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่าง เท่าทัน
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
™1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
™2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการน าความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
™3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
™4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
™5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
™6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
™7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
 
™1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
™3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
™1)  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 
™2)  กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 
™3)  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 
™4)  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 
™5)  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การ วิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา และประเมินจาก การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และ วิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมา คำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
™1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้
™2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
™1. ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
™2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำ และผู้ตาม
™3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการ อภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
™4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายใน สถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
™5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
™2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
™3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
™4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
 
™1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
™2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของ สื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้ง ในรูปแบบการเขียนรายงาน และการน าเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
™1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 
™2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
™3. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
™4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
™5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟท์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้    
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
™2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการน าเสนอด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
™3. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
™4. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่ง ได้รับมอบหมายร่วมกัน
 
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 70%
2 1.1 1.2 2.1 2.2 2.4 3.1 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 1.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์/สาธารณประโยชน์ต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชา การบริหารการจัดซื้อ
-
-
1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิภาพผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2 กลยุทธ์การประเมินการสอน
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน
-
 

4 กระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
   จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ