เทอร์โมไดนามิกส์

Thermodynamics

หลังจากเรียนวิชานี้แล้วนักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ เพื่อให้เข้าใจในกฏข้อต่างๆของเทอร์โมไดนามิกส์  เพื่อให้เข้าใจในเรื่องของงานและความร้อน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับพลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเอนโทรปี เพื่อให้เข้าใจในหลักการของพื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงาน เพื่อให้เข้าใจในระบบของเครี่องยนต์ความร้อน เครื่องทำความเย็นและปั๊มความร้อน
เพื่อให้การปรับปรุงมีเนื้อหาสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ 1  และกฎข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ งานและความร้อน พลังงานและความสัมพันธ์ของพลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ที่มีการไหลสม่ำเสมอ เครื่องยนต์ความร้อน ปั๊มความร้อน และเครื่องทำความเย็น เอนโทรปี การเปลี่ยนรูปของพลังงาน ก๊าซอุดมคติ กระบวนการต่างๆ ของเทอร์โมไดนามิกส์ พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น
1
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
 - มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม -  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- การเข้าชั้นเรียนตรงตามเวลา - กำหนดให้นักศึกษาส่งแบบทดสอบและการบ้านตรงตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การเข้าเรียนตรงตามเวลา - ประเมินจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด - ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา -  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการที่สำคัญของเทอร์โมไดนามิกส์ - มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษา - ให้นักศึกษารวมกลุ่มเรียนรู้ในชั้นเรียน เพื่อเสริมความเข้าใจทฤษฏีพื้นฐาน
- คะแนนจากงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย - คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ -  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- บรรยายถึงหลักการและกระบวนการแก้ปัญหาที่ใช้ในการแก้ปัญหาทางเทอร์โมไดนามิกส์ - มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนและการบ้าน
- คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค - ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษาได้ค้นคว้า วิเคราะห์ สรุปผลเป็นรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- คะแนนจากงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายและคะแนนการนำเสนอ - สังเกตุจากพฤติกรรมนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม การมีส่วนร่วม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาการคำนวณทั้งในชั้นเรียนและเป็นการบ้าน - ใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สืบค้นข้อมูล คำนวณ และวิเคราะห์ผล
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา - คะแนนทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2. 1.3. 1.4. 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 31043101 เทอร์โมไดนามิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3,1.4 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.4 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 ทดสอบย่อย 2-7, 9-16 10%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 สอบกลางภาค 8 30%
5 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 สอบปลายภาค 17 30%
- Yunus A. Cengel, Michael A. Boles (2006). Thermodynamics An Engineering Approach fifth Edition
-  Paper จากฐานข้อมูลต่างๆ
-  สมชัย อัครทีวา, ขวัญจิต วงษ์ชารี (2554). เทอร์โมไดนามิกส์ Thermodynamics 7/e
-  การประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา
-  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา -  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-  พิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา -  พิจารณาจากการประเมินของนักศึกษา -  พิจารณาจากความเห็นของอาจารย์ประจำหลักสูตร
          -  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา           -  ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
      -  นำผลการประเมินการสอนและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ มาพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน