ชลประทานและการระบายน้ำ

Irrigation and Draining

1.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ หลักชลศาสตร์ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ำ-พืช การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การให้น้ำแบบต่างๆ การระบายน้ำและการควบคุมการไหล
1.2 เพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การสร้างอาคารบังคับน้ำ การวางระบบการให้น้ำแบบฉีดเป็นฝอย การไหลของน้ำใต้ดิน วิธีการระบายน้ำบนผิวดินและใต้ผิวดิน การออกแบบระบบการระบายน้ำและวิธีการควบคุมการไหล
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
2.2 เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพและ สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักชลศาสตร์ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ำ-พืช การคำนวณดินเพื่อการปรับพื้นที่ การสร้างอาคารบังคับน้ำ การวางระบบการให้น้ำแบบฉีดเป็นฝอย การไหลของน้ำใต้ดิน วิธีการระบายน้ำบนผิวดินและใต้ผิวดิน การออกแบบระบบการระบายน้ำและวิธีการควบคุมการไหล
Study and practices of principles related to designing irrigation distribution system for soil - water - plants. Land leveling and earthwork calculation. Construction of irrigation control structures, sprinkler irrigation system design, Groundwater movement, surface and subsurface drainage systems. Design of drainage system and methods of fluid control.
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ทุกวันพุธในภาคบ่าย
š
š1.1มีคุณธรรมและจริยธรรม
š1.2มีจรรยาบรรณ
˜
1.ทำการสอนแบบบรรยายโดย
- สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ใช้วิธีการสังเกตจากพฤติกรรม
-การเข้าเรียนตรงเวลา
-การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่ทุจริตในการสอบ
- การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
˜2.1มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
˜2.2 มีความรอบรู้
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
- มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภูมิอากาศ ดิน น้ำ และพืช; ระบบชลประทานและการออกแบบ
และจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนในห้องปฏิบัติการ
1. การนำเสนองาน
- ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. การทดสอบ
- โดยทำการทดสอบย่อยสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม
4. การปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการ
5.การรายงานผลการปฏิบัติการ
š3.1สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
˜3.2สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
š3.3ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การออกแบบระบบชลประทาน
1. ประเมินจากผลงานการออกแบบระบบชลประทาน
˜4.1ภาวะผู้นำ
š4.2มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
- มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภูมิอากาศ ดิน น้ำ และพืช; ระบบชลประทานและการออกแบบ
และจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
2. การสอนในห้องปฏิบัติการ โดยสอนภาคปฏิบัติและมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติตามบทปฏิบัติการเป็นกลุ่มและจัดทำรายงาน
1.รายงานการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภูมิอากาศ ดิน น้ำ และพืช; ระบบชลประทานและการออกแบบ
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
˜5.2มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การออกแบบระบบชลประทาน
2. แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
1. ประเมินจากผลงานการออกแบบระบบชลประทาน
2. การนำเสนองาน
ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ
- สื่อที่ใช้
- เนื้อหาที่นำเสนอ
- ภาษาที่ใช้
- การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ชลประทานและการระบายน้ำ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1
1 ENGAG207 ชลประทานและการระบายน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.2.1, 4.3.1 4.5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 8 11 16 10% 20% 10% 20%
2 4.2.1, 4.3.2, 4.5.1, 4.5.2, 4.5.3, รายงานและ/หรือแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 4.1.1, 4.1.2, 4.2.2, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.1, 4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียนทักษะพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
พิชัย  สุรพรไพบูลย์.  2561.  เอกสารประกอบการสอนภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ.  สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, น่าน. 
 
เกรียงศักดิ์ สุวรรณโพธิ์ศรี. 2527. การให้น้ำและการระบายน้ำ. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพฯ. เจษฎา แก้วกัลยา. 2533. การวางแผนและออกแบบระบบชลประทานในระดับไร่นา. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม. มัตติกา พนมธรนิจกุล. 2552. การจัดการดินและน้ำเพื่อระบบการเกษตรที่ยั่งยืน. ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่. วราวุธ วุฒิวณิชย์. 2536. การออกแบบการชลประทานบนผิวดิน.ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. วราวุธ วุฒิวณิชย์. 2538. การออกแบบระบบชลประทานในระดับไร่นา. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. วิบูลย์ บุญยธโรกุล. 2524. หลักการชลประทาน. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ. อภิชาติ อนุกูลอำไพ วิบูลย์ บุญยธโรกุล วราวุธ วุฒิวณิชย์ โกวิทย์ ท้วมเสงี่ยม และ มนตรี ค้ำชู. 2524. คู่มือการชลประทานระดับไร่นา. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและอาหาร สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย, ปทุมธานี.
บุญมา ป้านประดิษฐ์. 2546. หลักการชลประทาน. แหล่งข้อมูล : http://irre.ku.ac.th/v5/pdf/books/boonma/IrrThe.pdf. Allen, R.G., L.S. Pereira, D. Raes and M. Smith. 2006. FAO Irrigation and Drainage Paper No. 56 : Crop Evapotranspiration (guidelines for computing crop water requirements). . Available Source: https://www.kimberly.uidaho.edu/water/fao56/fao56.pdf Phocaides, A. 2007. HANDBOOK ON PRESSURIZED IRRIGATION TECHNIQUES. Available Source: http://www.fao.org/3/a-a1336e.pdf.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษานอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป