การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ

Production and Operations Management

1. รู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับระบบการผลิตและระบบการบริการ 2. เข้าใจขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์และการบริการ 3. เข้าใจวิธีการทำงาน วิธีการวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการทำงาน 4. เข้าใจหลักการบริหารสินค้าคงเหลือ 5. เข้าใจหลักการการควบคุมคุณภาพ 6. ประยุกต์ใช้ตัวแบบเพื่อพยากรณ์ความต้องการ เลือกทำเลที่ตั้ง วางแผนผังกิจการ และวางแผนควบคุมการผลิตและบริการ
เพื่อการเตรียมความพร้อมนักศึกษาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบการผลิตและการบริการไปเป็นพื้นฐานการออกไปปฏิบัติงาน็นพื้นฐานใและมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าตามยุคสมัย
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการผลิตและระบบการบริการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวางแผนกําลังการผลิต การพยากรณ์ความต้องการ การเลือกทําเลที่ตั้ง การวางแผนผังกระบวนการผลิต การวางแผนควบคุมการผลิต การวิเคราะห์วิธีการทํางาน และการควบคุมวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
-การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย -การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
-มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
-จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ -การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
-การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน -ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 2 1 1 1
1 BBABA202 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4 การทดสอบ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - สอบย่อย 8, 17, 7, 15 25%, 25%,20%
2 3.1.2, 3.1.3, 4.1.2, 5.1.3 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย - การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.1, 1.1.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Adam, E.E. and Ebert, R.J. Production and Operations Management. 2nd Edition. Englewood Cliffs : Prentice Hall, 2008.
Dennis. Dennis. Microcomputer Models for Management Decision-Making. [n.p.]: WEST Publishing. [n.d.].
Eppen. G.D.. Gould. F.G. and Schniidt. C.P. Introductory Management Science. Lindo edition. New Jersey: Prentice-Hall. 100
Gaither, N. and Frazier, G. Operations Management. 9th  Edition. Chicago : Dryden, 2001.
Lec. Sang M. and Shim Jung P. Micro Management Science. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon. 2000.
Levin. Richard I.. Rubin. David S.. Stinson. Joel P. and Gardner. Everette S. Quantitative Approaches to Management. 7th  ed. Yew York: McGraw -Hill Book. 2019.
Markland. Robert E. and Sweigart. James R. Quantitative Methods: Applications to Managerial Decision Making. New York: John Wiley and Sons. 2017.
Moder, J.J. and Phillips, C.R. Project Management with CPM and PERT. 2nd  Edition, 2007.
Nahmias, S. Production and Operations Analysis. 4th  Edition. New York : The McGraw-Hill Companies, 2001.
Render. Barry and Stair, Ralph M. Jr. Quantitative Analysis for Management. 5th ed. Boston: Allyn and Bacon, 1994.
Starr, M.K. Managing Production and Operations. Englewood Cliffs : Prentice Hall, 2009.
Stevenson, W.J. Operations Management. 7th  Edition. New York: The McGraw-Hill Companies, 2002.
Yih-Long Chang and Sullivan, Robert S. QSB+: Quantitative Systems for Business Plus. New Jersey: Prentice-Hall, [n.d.].
Yih-Long Chang and Sullivan. Rober S. QS Version 2.0. New Jersey: Prentice-Hall, [n.d.].
กัลยา วานิชย์บัญชา. การวิจัยขั้นดําเนินงาน : การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
กัลยา วานิชย์บัญชา. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสาร, 2555.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. การจัดการการผลิตและการดําเนินงาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และคณะ. การบริหารการดําเนินงานและการผลิต. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ท, 2555.
ธงชัย สันติวงษ์. องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2560.
พิชิต สุขเจริญพงษ์. การจัดการวิศวกรรมทางการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558.
พิภพ ลลิตาภรณ์. เทคนิคการบริหารโครงการโดย CPM และ PERT. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2554.
วิฑูรย์ สิมะโชคดี. นักบริหารการผลิตยุค 2000. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2553.
สุทธิมา ชํานาญเวช. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. กรุงเทพมหานคร : วิทยพัฒน์, 2559.
                            
ไม่มี
ไม่มี
-การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ -การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ ผลการเรียนของนักศึกษา แบบประเมินผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการอบรมสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา 4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย) 4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ 4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา 5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน 5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร