ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics Laboratory 2 for Engineers

1. สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์ 2. นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรมาปฏิบัติการทดลอง 3. สามารถวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล 4. พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยให้รู้จักการหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง 5. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความสมบูรณ์และครอบคลุม และทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นการพัฒนาความรู้และทักษะเฉพาะด้านของนักศึกษาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการทดลองไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง  โดยเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ 2  สำหรับวิศวกรในหัวข้อดังต่อไปนี้  เลือกปฏิบัติการทดลองจากหัวข้อต่อไปนี้ตามความเหมาะสม

เรื่องกราฟและสมการ   ได้แก่ ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการวัด หรือ  การใช้เครื่องมือวัด

ขั้นพื้นฐานทางฟิสิกส์  เป็นต้น

เรื่องไฟฟ้าสถิต   กระแสตรง  กระแสสลับ  และ วงจรไฟฟ้า  ได้แก่ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง , กฎของ

คูลอมบ์ , กฎของโอห์ม ,  เซลล์แสงอาทิตย์ ,ไฟฟ้าสถิต , การเก็บประจุและคายประจุ  , วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น  , วงจร  RC  , วงจร RLC ,  วงจรเคอร์ชอฟฟ์  ,  วงจรบริดส์สโตนวิลส์ ,  วงจรเรียงกระแส , เครื่องชั่งกระแส
หรือ  การใช้ออซิโลสโคป  เป็นต้น

แม่เหล็กและการเหนี่ยวนำ   คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  และทัศนศาสตร์  ได้แก่  สนามแม่เหล็กในตัวนำ

, กระแสสมดุล , การหาความเข้มสนามแม่เหล็กโลก , โมเมนต์แม่เหล็กในสนามแม่เหล็ก , คลื่นไมโครเวฟ
, การหาค่าประจุต่ออิเล็กตรอน , การแผ่รังสีความร้อน , การสะท้อนของแสง , การหักเหของแสง ,การแทรกสอดของแสง ,  แสงและเลนส์ , การศึกษาสเปกตรัมของแสง  หรือ การวัดความเร็วแสง  เป็นต้น

ฟิสิกส์นิวเคลียร์  ได้แก่  การวัดรังสีและกฎกำลังสองผกผัน ,  การหาครึ่งชีวิตของธาตุกำมันตรังสี

หรือ  กัมมันตภาพรังสี เป็นต้น
3
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย
แบ่งกลุ่มระดมความคิด
  แนะนำและยกตัวอย่าง
บอก ระเบียบการเข้าชั้นเรียน
 
- สอบข้อเขียน
- นำเสนอในชั้นเรียน - ผลการเข้าชั้นเรียน
- การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา
- การทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง - เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- สอบย่อย
- สอบข้อเขียนกลางภาค
- สอบข้อเขียนปลายภาค
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
-ทำการทดลอง  บันทึกผลการทดลอง  วิเคราะห์  สรุปและตอบคำถามท้ายเอกสารการทดลอง
- ตรวจสอบความถูกต้องและให้คำแนะนำ  บันทึกผลการทดลอง  วิเคราะห์  สรุปและตอบคำถามท้ายเอกสารการทดลอง
- ประเมินระบบการผลการทดลอง , วิเคราะห์ , สรุป และการตอบคำถามท้ายการทดลอง
 (3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-  สามารถทำการทดลองเป็นกลุ่มตามที่ผู้สอนกำหนดให้ได้
ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานผลการทดลองของนักศึกษา
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-  แนะนำให้นักศึกษาใช้เครื่องคิดเลขพอสังเขป
-  สามารถคำนวณและหาค่าต่างๆจาการทดลองได้ถูกต้อง
-  รายงานบันทึกผลการทดลอง
-  สรุปผลการทดลองและการตอบคำถามท้ายบท
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะการใช้เครื่องคำนวณ ความรู้และความเข้าใจเนื้อหาวิชาฟิสิกส์แและการใช้เครื่องมือวัดททางไฟฟ้าเบื้องต้น เรื่องคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ทบทวนการใช้เครื่องคำนวณ สอนการใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าเบื้องต้น สอนการต่อวงจรไฟฟ้าและสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์
1 FUNSC104 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1.2) , (1.3), (2.1) ,(3.2) , (4.3),(5.2) - การทำการทดลองและงานที่ได้รับมอบหมาย - การกำหนดเวลาการส่งงานแล้วนักศึกษาส่งตรงตามเวลาที่กำหนด - การเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียน - การใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า เช่น ทำแบบฝึกหัดลงในสมุดที่เหลือ หรือการใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้า เป็นต้น - ความถูกต้องการทดลอง - ความซื่อสัตย์ในการทำการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 ทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) ,(3.2) ,(5.2) - คะแนนการสอบปฏิบัติรายบุคคล 16 20%
3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา (1.2) ,(2.1) ,(3.2) ,(5.2) - การสอบปลายภาค 17 20%
ฟิสิกส์ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฟิสิกส์ 2 ทบวงมหาวิทยาลัย
            2.1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ฟิสิกส์ 2
            2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
             2.3  R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
            2.4 คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ :
            2.5 The Feyman lectures on Physics , Richard P. Feynnan , Add : son – Wesley publishing company ,1971.
2.6 Physics scientists & engineers with modern physics Douglas C. Giancoli , Prentice Hall, 2009.
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
http://www.sci.rmuti.ac.th/physics/physics1/Physics1Slides.html
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. แบบประเมินผู้สอนที่นักศึกษาต้องกรอกในระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
1.  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1.  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป