การตรวจสอบงานก่อสร้าง

Inspection for Construction

1.เข้าใจศึกษาสิทธิ อำนาจหน้าที่ กฎหมาย จรรยาบรรณของผู้ตรวจและควบคุมงาน
2.อธิบายการดำเนิน การก่อสร้าง การประสานงาน การตรวจสอบให้ถูกต้องตามแบบรูปรายการก่อสร้าง การตรวจ สอบงานก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ได้
3.อธิบายการแก้ปัญหาในระหว่างการก่อสร้าง
4.จัดทำแบบ Shop Drawing การรายงานผลงานการก่อสร้าง ศึกษาดูงานนอกสถานที่      
1. เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของผู้ตรวจและควบคุมงานก่อสร้างอาคาร
2. เข้าใจวิธีการตรวจและควบคุมงานก่อสร้างอาคาร
3. เข้าใจวิธีการจัดทำ Shop Drawing
4. เข้าใจวิธีการจัดทำ รายงานการก่อสร้าง
5. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพวิศวกรรมโยธาและการก่อสร้าง
ศึกษาสิทธิ อำนาจหน้าที่ กฎหมาย จรรยาบรรณของผู้ตรวจและควบคุมงาน การดำเนิน การก่อสร้าง การประสานงาน การตรวจสอบให้ถูกต้องตามแบบรูปรายการก่อสร้าง การตรวจ สอบงานก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม การแก้ปัญหาในระหว่างการก่อสร้าง การจัด ทำแบบ Shop Drawing การรายงานผลงานการก่อสร้าง ศึกษาดูงานนอกสถานที่
อาจารย์จัดเวลาคำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง สนับสนุนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ที่มีระบบ วินัย ขยัน ซื่อสัตย์ อดทน เพื่อเป็นตัวอย่าง
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน สอบโดยเน้นเรื่องจรรยาบรรณในวิชาชีพสถาปนิก
2.1.1 ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์ เอกสารประกอบการสอน สอบถาม
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี
2.3.3 การอภิปรายในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
3.3.2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย
4.3.3 ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ๆ ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ การนำชมสถานที่จริง
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 ให้นักศึกษา เลือกวิธีการนำเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ถูกต้องให้นักศึกษาระหว่างการสอน
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วน รวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบ ในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
ส่งเสริมให้นักศึกษาทำกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม รับฟังความคิดนักศึกษา
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน สอบ ทุกสัปดาห์ 10%
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 และ 17 60%
3 ด้านทักษะทางปัญญา งานที่มอบหมายให้ค้นคว้า ดูงานและนำเสนอผลงาน กรณีศึกษา การควบคุมงาน สถานที่ จริง 1 ครั้ง 3-8,10-14 30%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคเรียน
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สังเกต การนำเสนองาน ปฏิบัติ ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคเรียน
1 กองงาน ก.ว. และ ก.ส. และสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศทไทยในพรบรมราชชูปถัมภ์ โครงการปฐมนิเทศผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505, เอกสารประกอบการบรรยาย, กองงาน ก.ว- ก.ส. กรุงเทพฯ 2545.
2 เดชา ธีระโกเมน EEC 30th YEAR NOTE BOOK, พิมพ์ที่บริษัทเลิฟแอนด์ลินเพลสจำกัด, กรุงเทพฯ, 2549.
3 เชียงใหม่ จังหวัด, สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชชูปถัมภ์ (สาขา ภาคเหนือ 1 และคณะวิศวกรรมศาสตร์ 4 มหาวิทยาลัยในจังหวัดเชียงใหม่, ปัญหาการจัดทำราคากลางกับ แนวทางการตรวจสอบของ สตง. เอกสารประกอบการ สัมมนา กุมภาพันธ์ 2550, พิมพ์ที่สำนัก พัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลางกระทรวงการคลัง, กรุงเทพฯ, 2550
4 ชนันต์ แดงประภัย, การควบคุมงานอาคารสูง, พิมพ์ที่บริษัท ประชาชนจำกัด, กรุงเทพฯ, 2549. วัลลพ เจริญรมย์, ลิฟต์, พิมพ์ที่บริษัท เกียรติ แอนด์ ฟูจิจำกัด, กรุงเทพฯ, 2549.
5 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, การก่อสร้างขนาดใหญ่, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545.
6 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การตรวจงาน, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545.
7 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การวางแผนงาน, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545.
8 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, การสำรวจปริมาณงาน, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545.
9 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, เครื่องจักรกลและอุปกรณ์การก่อสร้าง, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545.
10 วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, งานสนาม, สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, จังหวัดนนทบุรี, 2545   11 วิศวกรรมโยธา สาขา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ,การควบคุมงานก่อสร้าง เอกสารประกอบการฝึกอบรม, สำนักพิมพ์ที่สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ, จังหวัดเชียงใหม่,2539.
12 พัสดุและออกแบบก่อสร้าง กอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล,การตรวจการจ้างและการ ควบคุมงานก่อสร้าง,เอกสารประกอบการฝึกอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สิงหาคม 2548 จ.ระยอง , พิมพ์ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญญบุรี จังหวัดปทุมธานี,2548.
13 พีระเดช จักรพันธุ์ ม.ร.ว.,สถาปนิกกับการควบคุมงานก่อสร้าง,จุลสาร,คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2524
 14 วิศวกรรมศาสตร์ คณะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และสมาคมคอนกรีตแห่ง ประเทศไทย,การปฏิบัติงานที่ดี การป้องกัน และแก้ไข หน้างานของคอนกรีต สิงหาคม 2553, เอกสารประกอบการอบรมทางวิชาการ, พิมพ์ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาภาค พายัพเชียงใหม่,จังหวัดเชียงใหม่,2553.
15 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชชูปถัมภ์สมาคม,แนวการบริหารโครงการ และควบคุมงานก่อสร้าง,พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูป ถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2548
16 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,รายการตรวจสอบงาน ก่อสร้าง, พิมพ์ที่บริษัท เอกรุ๊ฟ แอทเวอร์ไทซิ่ง จำกัด, กรุงเทพฯ, 2553
17 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,แนวการวัดปริมาณงาน ก่อสร้าง, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ , 2548
18 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,การควบคุมงานก่อสร้าง ,เอกสารประกอบการฝึกอบรม, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2548
19 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,ประสบการณ์วิศวกรรม งานระบบไฟฟ้า สุขาภิบาล การป้องกันอัคคีภัย เครื่องกล การจัดการ บริหารและควบคุม งาน ในหน่วยงานก่อสร้าง, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราช ชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2548
20 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,มาตรฐานระบบเครื่องกล ขนส่งในอาคาร(ลิฟต์), พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูป ถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2544.
21 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,มาตรฐานการป้องกัน อัคคีภัย, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ 2549.
22 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,มาตรฐานระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2548.
23 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,แนวการวัดปริมาณงาน ก่อสร้าง, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2553
24 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,คู่มือการติดตั้งระบบไฟฟ้า ภายในที่อยู่อาศัย หรือ อาคารขนาดเล็ก,พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2551.
25 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,ขอบเขตและหน้าที่การ ให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้าง,พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ, 2545.
 26 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,แนวทางบริหารโครงการ และควบคุมงานก่อสร้าง, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูป ถัมภ์, กรุงเทพฯ , 2552
27 วิสูตร จิระดำเกิง,ผู้ประมาณการก่อสร้าง, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต,จังหวัดปทุมธานี, 2548., เขตคลองสาน, กรุงเทพฯ,2537.
28 สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม , การอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประเถทปูชนียสถานและวัดวาอาราม, วารสารอาษา 06:53/07:53, พิมพ์ที่ บริษัท โฟคัสอิมเมทปริ้น กลุ๊ป จำกัด, กรุงเทพฯ, 2553.
29 สันติ ชินานุวัติวงศ์ , วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ , สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ , 2546.
30 อรุณ ชัยเสรี, อัตรายจากการก่อสร้างและวิธีป้องกัน, พิมพ์ที่บริษัทส.เอเซีย เพรส (1989) จำกัด, เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ, 2547.
31 อรุณ ชัยเสรี, การวิบัติของอาคาร สาเหตุและการแก้ไข, พิมพ์ที่บริษัทส.เอเซีย เพรส (1989) จำกัด เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ, 2549.
32 อรุณ ชัยเสรี ,การควบคุมงานก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก , พิมพ์ที่วงศ์สว่างการ , เขตบางซ่อน กรุงเทพ , 2540.
33 Barrie,D.S. and Paulson,B.C.( 1992).Professional Construction Management, 3th Edition, McGraw-Hill,Inc.,N.Y.,1992.
34 Barker,John A:Reinforced Concrete Detailing.London:Oxford University,1967.
35 Boughton, Brian W: Reinforced Concrete Detailer’Manual,London:ELBS,1973.
36 Concrete Reinforcing Steel Institute : Reinforcing Bar Detailing. Illinois: 1970
37 Fintel,Mark:Hand Book of Concrete Engineering,New York, Van Nostrand Reinhold Company, 1976.
38 Jacob Kunz,Approval Produce in the Euroopean Union,Hilti Fastening Academy 2004, Hong Kong, 2004.
39 Oglesby,C.H.,ParkerjH.W.&Howell,G.A.(1989) Productivity Improvement in Construction, McGraw-Hill,Inc.,N.Y.,1989.
40 Report by ACI Committee 315: Manual of Standard Practice for DetailingReinforced Concrete Structures(ACI 315-74) American Concrete Institute,P.O. Box19150, Redford Station Detroit, Michigan 48219, 1990.
41 Seelye, Elwyn E: Data Book for Civil Engineers, New York: John Wiley and Sons,1968.
-วิทยายาการสาขา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,การตรวจงาน , สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , จังหวัดนนทบุรี , 2545.
- วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์ สมาคม,การควบคุมงานก่อสร้าง,เอกสาร ประกอบการฝึกอบรม, พิมพ์ที่สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ,2548
- วิศวกรรมโยธา สาขา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ,การควบคุมงานก่อสร้าง, เอกสารประกอบการฝึกอบรม, สำนักพิมพ์ที่สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคพายัพ, จังหวัดเชียงใหม่,2539.
- พีระเดช จักรพันธุ์ ม.ร.ว. ,สถาปนิกกับการควบคุมงานก่อสร้าง,จุลสาร,คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2524
- Barker,John A:Reinforced Concrete Detailing.London:Oxford University,1977
- Concrete Reinforcing Steel Institute : Reinforcing Bar Detailing. Illinois: 1980
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกต 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์