เคมีเชิงฟิสิกส์

Physical Chemistry

    1.1 เข้าใจหลักการทางเคมีวิเคราะห์ หน่วยทางเคมี
    1.2 เข้าใจสมดุลอิออนิกในสารละลายน้ำ ผลคูณการละลายผลของอิออนร่วม
    1.3 เข้าใจทฤษฎีออกซิเดชัน-รีดักชัน เคมีไฟฟ้า
    1.4 เข้าใจหลักการวิธีการไทเทรตและการวิเคราะห์ไอออน
    1.5 พัฒนาทักษะและจิตพิสัยในการปฏิบัติงานด้านการทดลองอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักทั่วไปของเคมีวิเคราะห์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุค
ศึกษาเกี่ยวกับหลักทั่วไปของเคมีวิเคราะห์  หน่วยทางเคมี    สมดุลไอออนิกในสารละลายน้ำ เคมีไฟฟ้า การไทเทรตกรด-เบส การไทเทรตแบบตกตะกอน การไทเทรตแบบการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน การไทเทรตแบบปฏิกิริยารีด๊อกซ์ และการวิเคราะห์ไอออน
Study under the topic of the analytical chemistry principle chemical unit, ionic equilibrium in aqueous solution, electrochemistry,  acid and base titration,  the gravimetric titration, the complex compound titration including with redox titration and ion analysis  
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอแสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
š1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
 
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  ขยัน อดทน  ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย   ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกาย  การเข้าเรียนตรงต่อเวลา  เขียนงานและส่งงานที่มอบหมายได้ครบถ้วน ตรงต่อเวลา
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
š2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การนำเสนองาน
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
6. การซักถามในห้องเรียน
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
š3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
š3.4 มีทักษะในการปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา จากการตรวจโจทย์แบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
š4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
š4.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งชองตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
- มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
š5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถระบุเข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมและใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูลแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
š5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
š5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมและสถานการณ์โลกโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
-การนำเสนองานและสืบค้นข้อมูลในการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์กับวิชาชีพ
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
 
š6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การมอบหมายงานให้รายงานผลการทดลองเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. การเขียนรายงานผลการทดลอง (การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการออกแบบรายงานผลการทดลอง, การอภิปรายสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง,การอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากการสืบค้น)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCCC109 เคมีเชิงฟิสิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 8 , 17 60
3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การตอบคำถามในชั้นเรียน การทำโจทย์เสริมทักษะ ตลอดภาคการศึกษา 15
4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การร่วมมือในการทำงานกลุ่ม การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 7
5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม การสืบค้นข้อมูล การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 8
      1) Donald A. Mc Quarrie and John D. Simon, Physical chemistry: A molecular approach, University   Science books, 1997.        2) Peter W. Atkins and Julio de Paula, Physical chemistry, 7th Ed., Oxford University Press, 2002.        3) Robert A. Alberty and Robert J. Silbey, Physical chemistry, 2nd Ed., John Wiley & Sons, Inc.,           1997.        4) ปรีชา พหลเทพ. เคมีฟิสิกัล 2. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2543.        5) วิชัย ธรานนท์. เคมีฟิสิกัล 1. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2542.        6) วิโรจน์ ปิยวัชรพันธ์. เคมีเชิงฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2540.        7) Atkins P.W., Physical Chemistry, 6th ed. Oxford: Oxford  University, 1998
      1) P. W. Atkins Physical Chemistry 5th ed. Oxford University Press, Oxford 1994.        2) Peter Atkins and Julio de Paula, Atkins’ Physical Chemistry, 7th ed. Oxford University Press, Italy,          2002.        3) Ira N. Levine, Physical Chemistry, International student edition, McGraw-Hill.        4) Peter W. Atkins, Physical Chemistry 3rd ed. , Oxford University Press: Great Britain o:p>        7) Atkins P.W., Physical Chemistry, 6th ed. Oxford: Oxford  University, 1998.  แก้ไข
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4