นโยบายภาษีและการภาษีอากร

Tax and Tax Policy

1. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างภาษีอากร  นโยบายภาษี จรรยาบรรณ และเป้าหมายของการจัดเก็บภาษีอากร  2. สามารถวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร  3. เข้าใจวิธีการกรอกและยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร  4. สามารถนำหลักเกณฑ์และวิธีการทางภาษีอากร มาประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจและการประกอบอาชีพในสถานการณ์  ต่าง ๆ ได้
เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายรายวิชา ภายใต้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจ  มุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ในรายวิชาการภาษีอากร 1  ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาหรือการประกอบอาชีพได้
ศึกษานโยบายภาษี และความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี ศึกษาวิธีการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร อันได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นที่จำเป็น
1 ชั่วโมง
มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความ ส านึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อ สังคม และปลูกฝังให้ นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้อง ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
ประเมินจากการทำกิจกรรม การส่งงานและการเข้าชั้นเรียน  แก้ไข
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง  
-     บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำบัญชี  -     กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา  -     มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์และการบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ
การใช้แบบทดสอบ การตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา การตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง  
-     บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำ  -     กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา  -     มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์ การบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ และการประเมินผลกระทบเพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสม  แก้ไข
การใช้แบบทดสอบ การตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา การตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย  แก้ไข
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้
มอบหมายงานกลุ่ม นำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้งตอบคำถามและร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินจากการสังเกต การนำเสนอ การตอบคำถามและการแสดงความคิดเห็น
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำ เทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
มอบหมายงานค้นคว้าและนำเสนอที่ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  แก้ไข
ประเมินจากผลงานมอบหมายและการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
มอบหมายงานกรณีศึกษาให้แก้ไขปัญหาด้านการจัดการธุรกิจของสถานประกอบการ
ประเมินจากผลงานมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 1 2 2
1 BBACC109 นโยบายภาษีและการภาษีอากร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียนที่ 1-5 - ตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - ตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย - สังเกตการนำเสนอผลงานและตอบคำถามของนักศึกษา 1-8 และ 10-16 30
2 หน่วยเรียนที่ 1-2 แบบทดสอบกลางภาค 9 30
3 หน่วยเรียนที่ 3-5 แบบทดสอบปลายภาค 17 30
4 คุณธรรม จริยธรรม และการเคารพกฎระเบียบ - การเข้าเรียนประเมินผลจากการลงลายมือชื่อเข้าเรียน - การแต่งกายประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน - ส่งงาน ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนดเวลา - จรรยาบรรณ ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน 1-17 10
สุเมธ  ศิริคุณโชติ และคณะ . ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2563. กรุงเทพ : เรือนแก้วการพิมพ์, 2563.
ประมวลรัษฏากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลทางวิชาการ และข่าวสารของทางราชการ  ที่เผยแพร่ในอินเตอร์เน็ต เช่น
-กรมสรรพากร
-กรมศุลกากร
-กรมสรรพสามิต
ฯลฯ
ให้นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษา
การปรับปรุงเนื้อหาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การนำผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อการสอน 
การทวนสอบผลคะแนนโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน