ธุรกิจเพื่อสังคม

Social Enterprise

แนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ วิธีการดำเนินธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม การประยุกต๑หลักการบริหารธุรกิจที่นำไปใช๎ในกิจการเพื่อสังคม การวิเคราะห๑ปัญหา อุปสรรค โดยเน๎นการใช๎นวัตกรรมในการแก๎ไขปัญหา เพื่อสร๎างความยั่งยืนของกิจการเพื่อสังคม ฝึกวิเคราะห๑และเขียนแผนธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม รวมถึงการศึกษากรณีศึกษาจากกิจการเพื่อสังคม ทั้งภายในประเทศและตำงประเทศ
1.ศึกษาแนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ วิธีการดำเนินธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม
2. สามารถการประยุกต์หลักการบริหารธุรกิจที่นำไปใช๎ในกิจการเพื่อสังคม
3.สามารถรวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค โดยเน๎นการใช๎นวัตกรรมในการแก๎ไขปัญหา เพื่อสร๎างความยั่งยืนของกิจการเพื่อสังคม
แนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ วิธีการดำเนินธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม การประยุกต๑หลักการบริหารธุรกิจที่นำไปใช๎ในกิจการเพื่อสังคม การวิเคราะห๑ปัญหา อุปสรรค โดยเน๎นการใช๎นวัตกรรมในการแก๎ไขปัญหา เพื่อสร๎างความยั่งยืนของกิจการเพื่อสังคม ฝึกวิเคราะห๑และเขียนแผนธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม รวมถึงการศึกษากรณีศึกษาจากกิจการเพื่อสังคม ทั้งภายในประเทศและตำงประเทศ
- อาจารย์ ประจํารายวิชา ติดประกาศเวลาให้ คำปรึกษาหน้า ห้องพักอาจารย์
- อาจารย์ จัดเวลาให้ คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) š1.1 มีความร้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น š1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม š1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม š1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ š1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ š1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์การและสังคม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยการเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. กำหนดงานเป็นกลุ่มย่อย เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการมีคุณธรรม จริยธรรม 4. ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความซื่อสัตย์เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี 5. กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบ 6. มีกิจกรรมที่ส่งเสริมในเรื่องความเสียสละเพื่อส่วนรวมและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 4. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) š 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาองสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาที่ศึกษากับความรู้ศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง š2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวกับสาขาวชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน š2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ š 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน š 2.5 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด š 2.6 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน š 2.7 รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง š 2.8 มีความรู้แนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง š 2.9 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ 3. จัดการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 4. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) š 3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง ˜3.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ ˜3.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป š3.4 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ š 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 2. ใช้สถานประกอบการฝึกปฏิบัติงานจริง 3. มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข 4. เน้นถึงศาสตร์และศิลป์รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน แลให้นักศึกษานำเสนอผลงานจริง
1.ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 2. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 3. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) š4.1 มีถาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของปู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ š4.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ปัญหาของทีม และสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม š4.3 มีความสามรถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวนยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน š 4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง š 4.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ š 4.6 มีความรับผิดชอบการในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม š 4.7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา 3. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน 4. มีกิจกรรมส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ 
 
1. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม 2. ประเมินจากผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม 3. มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์และนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) š5.1สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน š5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ š5.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ š5.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ š5.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ š5.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 3. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ประเมินจากการอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน 3. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ประเมินจากการทดสอบ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 
1. สามารถปฏิบัติงานโดยนําองค์ ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้ อย่าง เหมาะสม 2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้ เป็น แนวทางในการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของธุรกิจ นํามาใช้ แก้ไข ปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้ อย่างถูกต้อง 3. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทํางาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้ อย่าง เหมาะสม และมีความพอเพียงในการดําเนินชีวิต 4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็น ไทย
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง  ๆ  ให้ นักศึกษาได้ วิเคราะห์สถานการณ์จําลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บําเพ็ญ     ประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 3.  จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้าน      การวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการ      ผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้ สอดคล้องกับ      สถานการณ์ฯ 4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ     เรียนการสอนการทำงาน 5.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วม      กับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 6.  จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจําลอง หรือสถานการณ์ จริง และความสามารถในการนําเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ นักศึกษา จิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 3. พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทํางาน 4. การนําเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ ภาษา การสื่อสารใน บริบทต่าง ๆ เพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม 5. นักศึกษาสามารถใช้ เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กาจัดทําโครงงาน และการนําเสนอ การทํางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 9, 17 สอบกลางภาค ปลายภาค 50% งานกลุ่มและผลงาน งานมอบหมาย 40%
1 กาจัดทําโครงงาน และการนําเสนอ การทํางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 9, 17 สอบกลางภาค ปลายภาค 50% งานกลุ่มและผลงาน งานมอบหมาย 40%
สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ
สภาบันไทยพัฒน์. สร้างธุรกิจเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ
• คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ
• กิจการเพื่อแก้ ปัญหาสังคม www.tseo.or.th
• SE Catalog รวมกิจการเพื่อสังคมในไทย. สํานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  แก้ไข
 
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ  แก้ไข
เพิ่มกรณีศึกษา และหาธุรกิจที่ทันสมัยให้วิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน
ใช้แบบสอบถามเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในรายวิชา
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม