โครงงานด้านวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ

Agricultural and Biological Engineering Project

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงงานด้านวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพของตนเอง และรู้จักการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
2.1 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้ศึกษามาปฏิบัติใช้กับโครงงานของตนเอง และรู้จักแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
2.2 เพื่อเป็นพื้นฐานการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง
การทำให้เกิดผลโครงงานด้านวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ โดยนักศึกษาทำการค้นคว้าวิจัยในเรื่องที่เลือกสรรแล้ว ในสาขาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษาต้องส่งรายงานให้กับภาควิชาฯ และต้องเสนอผลงานโดยสมบูรณ์ก่อนปิดภาคการศึกษา
                   Implementation of the proposed agricultural and biological engineering project for a student to do a research in the field of agricultural and biological engineering or related fields under the supervision of the advisor. Departmental copy and oral defense are required before the end of the semester.
9
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
(2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
- ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
- จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
- ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมการนำเสนอหัวข้อโครงงาน ในโครงการประกวดโครงงานนักศึกษาด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ และการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของผู้เรียน
- สังเกตจากการนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกงาน
(4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
(5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
- ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
- มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
- ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
-ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
(5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
- ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
- ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
- ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
- มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
- ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงานด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG113 โครงงานด้านวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4, 4.2.1 4.2.2, 4.2.3, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 - วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การมีส่วนร่วมในการอภิปราย - การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดการศึกษา 100%
- คู่มือการเขียนปริญญานิพนธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ข้อมูลการสืบค้นออนไลน์ 
- ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์  https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
- การสืบค้นวารสารวิชาการระดับนานาชาติบนฐาน Scopus, Sciencedirect เป็นต้น
- ตำราภาษาไทยที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
          - งานวิจัยที่เดี่ยวข้องกับโครงงาน
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
                   5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                   5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ