อุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้น

Sensor and Actuator

1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของอุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้นชนิดต่างๆ ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเลือกใช้อุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้นให้เหมาะสม
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมได้
1. เพื่อพัฒนารายวิชานี้  หรือ 2. การเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ  ที่เกิดขึ้น 3. เพื่อเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   หรือ  Web based 4. การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆเช่นอุปกรณ์ตรวจจับตำแหน่งแสงอุณหภูมิแรงดันความเครียดอัตราการไหลและปฏิกิริยาทางเคมีการสื่อสัญญาณและการประมวลผลระหว่างเซ็นเซอร์และตัวควบคุมการเลือกใช้เซ็นเซอร์ให้เหมาะสมกับระบบควบคุมการปรับสภาพสัญญาณของเซ็นเซอร์วงจรส่งสัญญาณออกของเซ็นเซอร์วงจรขยายสัญญาณสำหรับเซ็นเซอร์ การป้องกันสัญญาณรบกวนหลักการของอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆหลักการการทำงานของ สเต็ปมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์ แบบกระแสตรงและแบบกระแสสลับกลไกการสร้างแรงบิดทางแม่เหล็กไฟฟ้าอุปกรณ์ กระตุ้นไฮเรอลิกอละนิวแมติการควบคุมอุปกรณ์ตัดต้นชนิดต่างๆและการประยุกต์ใช้งาน
-
 (1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
                         (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
                         (3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์     
                         (4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
                             (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
บรรยาย สอดแทรก ด้านคุณธรรม และจริยธรรม ปลูกฝังความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การตรงต่อเวลา การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันของสังคมไทย
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการปรับตัวกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
              (2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
              (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
              (4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
              (5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยายเนื้อหาตามกรณีศึกษา และกาหนดโจทย์การบ้าน
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค
                             - ทารายงานที่มอบหมาย
1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
                             (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
                             (3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                             (4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
                             (5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 บรรยายเนื้อหาตามกรณีศึกษา และกาหนดโจทย์การบ้าน
ตรวจสอบแนวคิดของนักศึกษาในการแก้ปัญหาของโจทย์ในชั้นเรียน และการบ้านที่มอบหมาย
(1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
                         (2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
                         (3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
                         (4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
                         (5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
กาหนดรายงาน ให้นักศึกษานาเสนอเนื้อหา ทั้งเป็นรายบุคคล และรายกลุ่ม
วิธีการนำเสนอ การตอบคาถามตามเนื้อหาของรายงาน และการตอบคาถามของอาจารย์
(1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ได้เป็นอย่างดี
                             (2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
                             (3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
                             (4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
                             (5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางเทคโนโลยี เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้
- บรรยายเนื้อหาประกอบสื่อการสอนที่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ
                             - กำหนดรายงานกรณีศึกษาที่ต้องอาศัยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- วิธีการนำเสนอรายงานด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                             - วิธีการประมวลผลเชิงตัวเลข ในกรณีศึกษาด้วยเครื่องมือการคำนวณ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
1 ENGMC112 อุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กรณีกำหนดให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียน/ชั่วโมงปฏิบัติ 1.1) คะแนนระหว่างภาค มี 0 การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน การสอบย่อยในชั้นเรียน (1.2) คะแนนสอบปลายภาค มี 100 %
2 กรณีไม่กาหนดให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียน  การประเมินผล  อิงเกณฑ์  อิงกลุ่ม - A มีแต้มระดับคะแนน = 4 - B+ มีแต้มระดับคะแนน = 3.5 - B มีแต้มระดับคะแนน = 3 - C+ มีแต้มระดับคะแนน = 2.5 - C มีแต้มระดับคะแนน = 2 - D+ มีแต้มระดับคะแนน = 1.5 - D มีแต้มระดับคะแนน = 1 - F ไม่มีแต้มระดับคะแนน
หนังสือบังคับ ชื่อหนังสือ Sensor and Transducer ผู้แต่ง Ian R.Sinclair
              2 2.1 หนังสืออ่านเพิ่มเติม
              2.2 บทความวิจัย/บทความวิชาการ (Research/Academic Articles) ซึ่งจาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
                             2.2.1 --................................................................................................
                             2.2.2 --................................................................................................
              2.3 แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆ ซึ่งจาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
                             2.3.1 ฐานข้อมูลห้องสมุด มหาวิทยาลัยรามคาแหง
                             2.3.2 ฐานข้อมูลห้องสมุด ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
* เอกสารวิชาการ                          * Internet
* สื่ออิเล็กทรอนิกส์                      * การใช้ภาพผ่าน  Visualizes
* เว็บไซด์                                       * E-Learning
* โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆ
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
จากผู้สังเกตการณ์                  ทีมผู้สอน                 ผลการเรียนของนักศึกษา
คณะกรรมการประเมินการสอน                             การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา มีการกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนอย่างไรบ้าง
        มีการวิจัยในชั้นเรียน
        มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ
                                         งานที่มอบหมาย  ตามรายวิชาที่แตกต่างกัน
         ผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4