กระบวนการผลิตขั้นสูง

Advanced Manufacturing Processes

ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุในงานวิศวกรรม กระบวนการผลิตแบบธรรมดา (งานตัดปาดผิวโลหะ งานเชื่อมต่อ งานขึ้นรูป) กระบวนการผลิตพิเศษ (เลเซอร์ ลำของไหลความเร็วสูง การตัดปาดผิวด้วยกระแสไฟฟ้า การตัดปาดผิวด้วยเคมีไฟฟ้า) การทำต้นแบบเร็ว เครื่องมือในกระบวนการ ส่วนประกอบของเครื่องมือกลและการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องมือกล การวางแผนงานและความเหมาะสม Study structural properties of engineering materials, conventional manufacturing (metal removal, joining, forming) unconventional manufacturing process (laser, water jet, electrical discharge machining, electro-chemical machining), rapid prototyping, processing tools, elements of machine tool and machine tool component design, optimization and planning issues.
สัปดาห์ละ 1 ครั้งๆ 2 ชั่วโมง
1.1.1 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพโดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นและเมื่อไม่มีข้อมูลทางจรรยาบรรณวิชาชีพหรือไม่มีระเบียบข้อบังคับเพียงพอที่จะจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นก็สามารถวินิจฉัยอย่างผู้รู้ด้วยความยุติธรรมและชัดเจนมีหลักฐานและตอบสนองปัญหาเหล่านั้นตามหลักการเหตุผลและค่านิยมอันดีงามให้ข้อสรุปของปัญหาด้วยความไวต่อความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบ 1.1.2 ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข 1.1.3 สนับสนุนอย่างจริงจังให้ผู้อื่นใช้การวินิจฉัยทางด้านคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.4 แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมในสภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
1.2.1 การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งจัดให้เป็นการเรียนการสอนแบบการใช้ปัญหาและโครงงานเป็นฐาน และให้นักศึกษาฝึกเรียนรู้ตั้งแต่เริ่มกำหนดปัญหาฝึกแก้ปัญหา 1.2.2 แทรกการสอนเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพ จากกรณีศึกษาต่างๆ ให้นักศึกษาและเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ และนำมาเป็นกฎเกณฑ์ในการเรียนการสอนในหลักสูตร 1.2.3 ฝึกนักศึกษาให้จัดการกับข้อโต้แย้งต่างๆ โดยผ่านการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักศึกษาหัดนำเสนอและจัดให้มีการเรียนการสอนแบบสองทาง ระหว่างอาจารย์และนักศึกษาหรือนักศึกษาด้วยกันเอง 1.2.4 การจัดการเรียนการสอนควรฝึกทำงานเป็นทีม และควรฝึกให้แต่ละคนเป็นผู้นำทีมด้วยกิจกรรมการเรียนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
1.3.1 ประเมินผลการเรียนทุกครั้งและเปิดเผยให้นักศึกษาได้ทราบผลการประเมินเพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 1.3.2 ประเมินผลจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรหรือการกระทำในขณะเรียน 1.3.3 ให้คะแนนจากการนำเสนอหรือให้คะแนนจากการสังเกตจากการลงปฏิบัติงานและแจ้งนักศึกษาทราบทุกครั้ง 1.3.4 ประเมินผลจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผลการดำเนินการในแต่ละครั้งเมื่อทีมมอบหมายให้เป็นผู้นำทีม2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ 2.1.2 มีความเข้าใจทฤษฎีการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชาหรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับแนวหน้า 2.1.3 มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆและการประยุกต์ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติในวิชาชีพตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพรวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
2.2.1 ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆโดยการสอนให้เน้นการค้นคว้า และนำเสนอให้มากที่สุด 2.2.2 สอนให้นักศึกษาเรียนรู้หลักการมากกว่าวิธีการ และพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้กรณีศึกษาและเปิดให้นักศึกษาแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลายบนพื้นฐานของหลักการ 2.2.3 ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าและวิจัยจากบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ เนื่องจากจะเป็นผลการวิจัยที่ใช้องค์ความรู้ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
2.3.1 การให้คะแนนจากการสอบข้อเขียน การเขียนรายงาน การนำเสนอ 2.3.2 ข้อสอบควรมุ่งอธิบายหลักการ พิสูจน์ แก้ปัญหาด้วยหลักการ 2.3.3 เนื้อหาที่สอนต้องปรับปรุงต่อเนื่องหรือแทรกองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง และฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอดในรูปแบบการนำเสนอ การทำรายงาน ฝึกแก้ปัญหาโดยการทำโครงการหรือวิจัยในทุกๆ รายวิชา
3.1.1 ใช้ความรู้ทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพและพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหาสามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ 3.1.2 สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัยสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการหรือรายงานทางวิชาชีพและพัฒนาความคิดใหม่ๆโดยการบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ที่ท้าทายสามารถใช้เทคนิคทั่วไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์รวมถึงพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.3 สามารถวางแผนและดำเนินการโครงการสำคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเองโดยการใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยและให้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ซึ่งขยายองค์ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติในวิชาชีพที่มีอยู่เดิมได้อย่างมีนัยสำคัญ
3.2.1 ในการเรียนการสอนต้องฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาโดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา 3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลองโดยใช้ผลการวิจัยหรือผลงานทางวิชาชีพแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างสร้างสรรค์ 3.2.3 ให้มีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการเพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงและหัดตั้งปัญหาจากสถานประกอบการ ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาผ่านงานวิจัย
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาได้แก่ 3.3.1 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานหรือปัญหาที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นคว้าหรือทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหา 3.3.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ 3.3.3 ให้นักศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานจริงด้วยรายงานที่ประกอบด้วยการตั้งปัญหาจากสถานประกอบการ การแก้ปัญหาด้วยการวิจัย และนำเสนอต่อคณาจารย์
4.1.1 สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.1.2 มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่างๆ 4.1.3 แสดงออกทักษะการเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
4.2.1 จัดการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งจะผสมผสานวิธีการสอนแบบใช้ปัญหาและโครงงานเป็นฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาเรียนรู้แบบร่วมมือฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม 4.2.2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมการมีมนุษยสัมพันธ์การเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กรเข้าไปในรายวิชาต่างๆและฝึกให้นักศึกษาได้วิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งที่นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4.2.3 ในการสอนแบบเป็นกลุ่มให้เวียนกันเป็นผู้นำทีม
ประเมินผลจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา 4.3.1 ในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 4.3.2 สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1.1 มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการอธิบายหลักการและสถานการณ์ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน 5.1.3 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาสรุปปัญหาและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ 5.1.4 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพรวมถึงชุมชนทั่วไปโดยการนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพรวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในหลากหลายสถานการณ์ 5.2.2 มอบหมายกรณีศึกษาที่ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าหรือนำเสนอ 5.2.3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกออกแบบ ฝึกทำการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย 5.2.4 ฝึกให้มีการสื่อสารหรือนำเสนอให้กับผู้รับข้อมูลหลายระดับ เช่น นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ
ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 5.3.1 การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ 5.3.2 การอธิบายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียนและนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุม หรือในสถานประกอบการจริง
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมืออุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.2 มีทักษะในการออกแบบทางวิศวกรรม ซึ่งต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางฝีมือ และประสบการณ์การทำงานและฝึกทักษะการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความรู้เชิงลึกหรือหลักการทางวิศวกรรม
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 6.2.2 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
6.3.1 พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการจดบันทึก 6.3.2 ผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. ฺฺTlusty, J., "Manufacturing Processes and Equipment", USA. Prentice-Hall, 2000.
2. Bhattacharyya, A. and Ham, I.,  "Design of Cutting Tools", USA. American Society of Tools and Manufacturing Engineering, 1969.
3. Korsakov, V., "Fundamentals of Fixure Design", Moscow. Mir Publishers, 1989.
4. Grant, H. E., "Jixes and Fixures: Non-standard Clamping Device", India. TATA McGraw-Hill, 1967.
5. El-Hofy, H., "Fundamentals of Machining Processes: conventional and nonconventional processes", USA. CRC Press, 2014.