การทำพิมพ์และการหล่อ

Mold Making and Slip Casting

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบ การเขียนแบบรูปทรงผลิตภัณฑ์สำหรับขึ้นรูปด้วยวิธีหล่อกลวง คุณสมบัติของปูนปลาสเตอร์ การสร้างต้นแบบและแม่พิมพ์ลาสเตอร์สำหรับหล่อกลวง การเตรียมเนื้อดินสำหรับใช้งานแบบหล่อกลวง การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ การตกแต่งชิ้นงาน การเคลือบ และการเผา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะจากการปฏิบัติจริงในสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมจริงอย่างครบกระบวนการด้วยการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีระบบ เพื่อการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพด้านเซรามิก
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบ การเขียนแบบรูปทรงผลิตภัณฑ์สำหรับขึ้นรูปด้วยวิธีหล่อกลวง คุณสมบัติของปูนปลาสเตอร์ การสร้างต้นแบบและแม่พิมพ์ลาสเตอร์สำหรับหล่อกลวง การเตรียมเนื้อดินสำหรับใช้งานแบบหล่อกลวง การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ การตกแต่งชิ้นงาน การเคลือบ และการเผา
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน และนอกเวลา
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในอีเมล์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรม ตรงต่อเวลามีจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้ในหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการสร้างต้นแบบ ประเภทของต้นแบบ การคำนวณขนาดของต้นแบบเผื่อการหดตัวและยุบตัว การสร้างต้นแบบด้วยมือ การสร้างต้นแบบด้วยเครื่องจักร การวิเคราะห์ต้นแบบ การตกแต่งต้นแบบ และการถอดแม่พิมพ์
บรรยาย สาธิต ยกตัวอย่าง ทำให้ดู พร้อมปฏิบัติ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานการออกแบบและสร้างต้นแบบ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เครื่องมือ
3.2.1 การบรรยาย และการเน้นให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่มอบหมาย
3.2.2 สาธิตการสร้างแบบด้วยมือ และเครื่องจักร
3.2.3 สาธิตการสร้างแม่พิมพ์ การหล่อ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบ การสร้างต้นแบบ สร้างแม่พิมพ์ การหล่อชิ้นงาน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานเป็นรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยหลักการแก้ปัญหา
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะในการท าตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะน า                                   
2)  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                 
(3)  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
มอบหมายงานให้ปฏิบัติเป็นรายบุคคล
ผลงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร 6. ทักษะพิสัย (ทักษะวิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECE124 การทำพิมพ์และการหล่อ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 15% 15%
2 การปฏิบัติงานและผลงาน การนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย กริยามารยาท การส่งงานตามเวลากำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
 
การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. การสร้างต้นแบบและแม่พิมพ์ด้วยวิธีการกลึง.
กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าครุสภา, 2538.
โกมล รักษ์วงศ์. เอกสารคำสอนน้ำเคลือบ 2 . กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎ
พระนคร, 2538.
ทวี พรหมพฤกษ์. เครื่องปั้นดินเผาเบื้องต้น..กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎ
พระนคร, 2523.
. นพวรรณ หมั้นทรัพย์. การออกแบบเบื้องต้น. โครงการตำราวิทยาเขตภาคพายัพ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. : โกลบอลวิชั่นจำกัด, 2539.
ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์. เครื่องปั้นดินเผาเทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์.กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539. . ประกรณ์ วิไล. เอกสารประกอบการสอน การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ, 254. ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2541. ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. รวมสูตรเคลือบเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2537. . ไพจิตร์ อิ่งศิริวัฒน์. เอกสารประกอบการสอน การออกแบบเซรามิก. เชียงใหม่ : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, 2538. ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์,ไพบูลย์ หล้าสมศรี และกิตติชัย ระมิงศ์วงค์. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคโนโลยีการทำพิมพ์ปูนปลาสเตอร์ สำหรับผลิตภัณฑ์
เครื่องปั้นดินเผา. เชียงใหม่ : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, 2539.
ไพบูลย์ หล้าสมศรี. เอกสารประกอบการสอน แบบและการหล่อ 2.เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา วิทยาเขตภาคพายัพ, 2547. วัลลภ ไชยพรหม. ปูนปลาสเตอร์ศิลปะการประดิษฐ์. กรุงเทพมหานคร :
ยูไนเต็ดบุ๊คส์, 2530.
วันชัย เพี้ยมแตง. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการทำพิมพ์และการหล่อ 2. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา วิทยาเขตภาคพายัพ, 2544.
 
 
. ศักดิพล เทียนเสม. เอกสารประกอบการสอน ปูนปลาสเตอร์สำหรับทำแม่พิมพ์.
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2538.
สาคร คันธโชติ. การเขียนแบบเทคนิค 1, 2. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2531. สุรศักดิ์ โกสิยะพันธ์. วัสดุศาสตร์(เอกสารประกอบการศึกษาวิชา ปั้น 461).
กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎ พระนคร, 2524.
สุรศักดิ์ โกสิยะพันธ์. น้ำเคลือบเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร:
สถาบันราชภัฎ พระนคร, 2534.
สมถวิล อุรัสยะนันทน์. เครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.
สมบูรณ์ สารสิทธิ์ ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์และเทคโนโลยี. นครศรีธรรมราช : สถาบันราชภัฎ
นครศรีธรรมราช, 2541.
ส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรม. เอกสารประกอบการฝึกอบรม การทำแม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์.
ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาลำปาง ภาคเหนือ, 2543.
ส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมการเตรียมน้ำดินสำหรับงานหล่อ. ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาลำปาง ภาคเหนือ, 2539. ส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรม. เอกสารวิชาการชุดที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเซรามิก.
ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาลำปาง ภาคเหนือ, 2538.
เสรี เรืองเนตร์. โครงการสอนรายวิชาหลักการเขียนแบบ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ, 2543. . สังเขต นาคไพจิตร. เอกสารประกอบการสอน หลักการออกแบบ. มหาสารคาม :
ปรีดาการพิมพ์, 2530.
อายุวัฒน์ สว่างผล. วัตถุดิบที่ใช้แพร่หลายในงานเซรามิกส์. กำแพงเพชร : สถาบันราชภัฎ
กำแพงเพชร, 2541.
Norsker, H. & Danisch, J. Forming Techniques for the Self-Reliant Potter. (GTZ) 1991. Ryan, W. and Radford, C. White wares: Production, Testing and Quality Control. Pergamon Press, 1987.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อการสร้างต้นแบบ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ