วัสดุการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

Printing and Packaging Materials

1. รู้และเข้าใจประเภทและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้สำหรับการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
2. รู้และเข้าใจกระบวนการผลิตหรือขึ้นรูปวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
3. รู้และเข้าใจวิธีการทดสอบวัสดุด้วยเครื่องมือมาตรฐาน
4. เห็นความสำคัญของการเลือกใช้วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน และการใช้สื่อที่หลากหลายมากขึ้น
2. เพื่อพัฒนาความรู้ในรายวิชาให้สอดรับกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านวัสดุ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปตามยุคสมัย
ศึกษาวัสดุที่ใช้สำหรับการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ประเภทของวัสดุ คุณสมบัติ กระบวนการผลิตที่ส่งผลต่อการผลิตสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ตลอดจนวิธีการทดสอบวัสดุด้วยเครื่องมือมาตรฐาน
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ และความซี่อสัตย์สุจริต
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2. นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยฝึกให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม เป็นผู้นำกลุ่มและเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซี่อสัตย์ไม่ทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น
3. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างการเรียนการสอน
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ประเภท สมบัติ และมาตรฐานการทดสอบวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
2. มีความรู้ความเข้าใจกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
3. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง
1. บรรยายพร้อมใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ยกตัวอย่างกรณีศึกษา และแสดงตัวอย่างประกอบ
2. กำหนดกิจกรรมในชั้นเรียนโดยจัดแบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อร่วมกันอภิปราย วิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. มอบหมายงานให้ค้นคว้าหาความรู้ด้านวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์นอกชั้นเรียน
1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. มีทักษะจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. คิดหาเหตุผลอย่างมีระบบและถูกต้องตามขั้นตอน
2. มีโอกาสได้ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่างๆ
3. รวบรวม สรุปประเด็นปัญหาโดยการปรึกษาและอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
1. ประเมินจากผลงานที่มอบหมายในชั้นเรียน
2. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมประเด็นที่เหมาะสม
1. นักศึกษาเสนอหัวข้อปฏิบัติตามการทำงานเป็นกลุ่ม
2. อภิปรายหัวข้อปฏิบัติแต่ละกลุ่มร่วมกัน
3. นักศึกษาปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบในแต่ละกลุ่ม
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มและกิจกรรมต่างๆ
2. การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
3. การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของานที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
2. นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากอินเตอร์เน็ตในการหาข้อมูลในการทำงาน
3. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BAADP107 วัสดุการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ความรู้ สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 60 %
3 ทักษะทางปัญญา วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ ตลอดภาคการศึกษา 20 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมกลุ่ม การอภิปรายและนำเสนองาน การมีส่วนร่วม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 2, 3, 5, 6, 8, 10 5 %
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การจัดทำรายงานและวิธีการสืบค้นข้อมูล ทักษะในการสื่อสารข้อมูลและบุคลิกภาพ 2, 3, 5, 6, 8, 10 5 %
งามทิพย์  ภู่วโรดม. การบรรจุอาหาร. การบรรจุอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. บริษัท เอส.พี.เอ็ม การพิมพ์ จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
     จันทิรา  โกมาสถิตย์. หมึกพิมพ์สำหรับการพิมพ์ไร้แรงกด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
จิรายุ  สันติวัฒนา และวิเทียน  นิลดำ. เหล็กและอะลูมิเนียม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
  รุ่งอรุณ  วัฒนวงศ์. กระดาษ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
  รุ่งอรุณ  วัฒนวงศ์. แผ่นกระดาษลูกฟูก. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
  ศุภณี  เรียบเลิศหิรัญ. หมึกพิมพ์สำหรับการพิมพ์ใช้แรงกด. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2545. ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้พลาสติกเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้โลหะ เพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
สมพงษ์  เฟื่องอารมย์. บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. จามจุรีโปรดักท์, กรุงเทพมหานคร.
สิริวรรณ  พัฒนาฤดี. พลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
สุวีณา  ตั่งโพธิสุวรรณ และสุวัฒน์  ตั่งโพธิสุวรรณ. เซรามิกและแก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3   แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
4.1   อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
4.2   นักศึกษาสามารถขอดูคะแนนย่อยต่างๆ เพื่อความมั่นใจ
5.1   นำข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 3 มาประมวลเพื่อจัดกลุ่มและนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป
5.2   ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญญา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสกอ.
5.3   อาจสลับอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้