เคมีของผลิตภัณฑ์อาหาร

Chemistry of Food Products

1.1  สามารถบอกองค์ประกอบ คุณสมบัติทางเคมีของอาหารประเภทผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ธัญพืช  ไขมัน น้ำมัน น้ำนมและผลิตภัณฑ์
1.2  มีความเข้าใจในหลักการด้านงานการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของปฏิกิริยาสีน้ำตาลในอาหาร เอนไซม์ในอาหาร
1.3  สามารถอธิบายกลไกการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีระหว่างการแปรรูป การเก็บรักษาและการป้องกันการเปลี่ยนแปลงของอาหารประเภทของผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ธัญพืช  ไขมัน น้ำมัน น้ำนมและผลิตภัณฑ์
1.4  สามารถเลือกใช้วัตถุเจือปนได้เหมาะสมกับอาหารแต่ละประเภทได้
1.5  มีความเข้าใจหลักการวิเคราะห์อาหารด้วยเครื่องมือชั้นสูงได้
มีการปรับปรุงเนื้อหา โดยอาศัยข้อมูลการวิจัยใหม่ๆ เทคโนโลยีต่างๆ ที่ทันสมัยเป็นปัจจุบัน เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบ คุณสมบัติและปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงทางเคมีระหว่างการแปรรูป การเก็บรักษาและการป้องกันการเปลี่ยนแปลงของผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ธัญพืช  ไขมัน น้ำมัน น้ำนมและผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาสีน้ำตาลในอาหาร เอนไซม์ในอาหาร วัตถุเจือปนในอาหาร การวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือชั้นสูงและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อาหาร         
Study and Practice on the chemical changes of components and properties that occur during processing of food; prevention the changes of fruits, vegetables, meat, cereals, fat and oil, milk and their products during storage; browning reaction in food; enzyme in food; food additive; principle of advanced instrumental methods for food analysis.
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอรับคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง
3.1 เข้าพบปรึกษาโดยตรง วันพุธและพฤหัสบดี เวลา 16.30 - 17.30 น.
    3.1.1 ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร โทร.055-298438 ต่อ 2210 (พิษณุโลก)
   3.1.2 อาคาร Coffee Go Green โทร 054 342548 ต่อ 189 (ลำปาง)
   3.1.3 ห้องพักอาจารย์ โทร 0814807358 (น่าน)
3.2  ช่องทางออนไลน์
   3.2.1 surinipo@gmail.com เวลา 19.00 – 20.00 น. วันจันทร์ถึงพฤหัส (พิษณุโลก)
   3.2.2 wanphenjit@hotmail.com เวลา 19.00 – 20.00 น. วันจันทร์ถึงวันศุกร์ (ลำปาง)
   3.2.3 jirarattim@gmail.com เวลา 19.00 – 20.00 น. ทุกวัน (น่าน)
˜1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
˜1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
š1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. สอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตยกตัวอย่างเช่น การสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น
2. สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม และจริยธรรม ของการใช้สารเคมี หรือสารเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร โดยตระหนักถึงผู้บริโภคเป็นสำคัญ
1. ประเมินจากจำนวนครั้งที่นักศึกษาทีถูกร้องเรียนเรื่องการกระทำทุจริต
2. ประเมินจากการสังเกต และสอบถามสมาชิกในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายงาน การทำงานโดยไม่คัดลอกงานของผู้อื่น
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งทำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยใช้หลักการของเคมีอาหาร
3. สอนปฏิบัติโดยให้นักศึกษาฝึกการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการทดลอง
4. จัดให้มีจัดทำรายงานในเนื้อหาวิชาสอน พร้อมทั้งให้นักศึกษานำเสนอ และมีการตอบข้อซักถามภายในชั้นเรียน
 
1. มอบหมายงานในหัวข้อที่เกี่ยวกับเคมีอาหาร โดยให้นักศึกษาคิดหัวข้อย่อย รวบรวมข้อมูลคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา นำเสนอ และจัดทำรายงาน
2. ให้นักศึกษานำเสนองานโดยอาจารย์และนักศึกษาร่วมกันอภิปรายงานของนักศึกษา
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากคะแนนสอบ
1.ประเมินจากเนื้อหาและความถูกต้องของรายงานที่นักศึกษานำเสนอ
2. ประเมินจากการตอบคำถาม
3. ประเมินจากเหตุผลและความถูกต้องของศาสตร์วิชาที่นักศึกษาใช้อธิบายและอ้างอิง
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. สอนโดยให้นักศึกษาฝึกทักษะในภาคปฏิบัติการวิเคราะห์ด้านเคมีอาหาร โดยให้นักศึกษาต้องปฏิบัติจริงทุกคน
1. ประเมินจากการสังเกตความถูกต้องระหว่างการปฏิบัติของนักศึกษา
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาส่งหลังจากปฏิบัติการ
4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายให้งานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม ให้อิสระนักศึกษาในการกำหนดหัวหน้ากลุ่มและสมาชิกในกลุ่ม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงอกของนักศึกษาในการเตรียมงาน ระหว่างการทำงาน และการนำเสนองาน
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
š5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. สอนให้นักศึกษา คำนวณการวิเคราะห์ปริมาณสาร หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อวิเคราะห์ทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเคมีอาหาร
1. ประเมินจากงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ความถูกต้องทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเคมีอาหาร ลำดับนักศึกษานำเสนองาน
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. จัดสรรเวลาการสอนทั้งภาคบรรยาย และปฏิบัติให้ชัดเจน พร้อมทั้งกำหนดบทลงโทษของการไม่ตรงต่อเวลาให้ชัดเจน
2. แบ่งกลุ่มในภาคปฏิบัติ ให้นักศึกษาใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเคมีอาหาร
1. ประเมินจากการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา
2. ประเมินจากความสามารถในการปฏิบัติได้ ใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ได้ของนักศึกษา
3. ประเมินจากการสังเกตการเอาใจใส่ในการใช้เครื่องมือและดูแลการใช้เครื่องมือที่ถูกต้องและสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ความรู้ที่ต้องได้รับ (knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะพิสัย(Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผิอื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมืออุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT147 เคมีของผลิตภัณฑ์อาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.5, 6.1 - การเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-15 10%
2 2.1,2.3 สอบกลางภาค 1-8 25%
3 2.1,2.3 สอบปลายภาค 10-16 25%
4 3.1, 3.4, 4.1, 4.4, 5.1, 6.1 - การปฏิบัติการเคมีของผลิตภัณฑ์อาหาร 1-14 30% -เล่มรายงาน 15% -การทำแล็ป 15%
5 4.1, 4.4, 5.1, 5.3, 5.4, 5.6 - การนำเสนองาน/การรายงานมอบ 15 10%
สุริยาพร นิพรรัมย์. 2558. เอกสารประกอบบรรยายรายวิชา 24124302 เคมีอาหาร 2 (power point และเอกสารประกอบ)
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2549. เคมีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 504 หน้า.
Belitz, H.D., Grosch, W. and Schieberle, P. (2009). Food Chemistry. 4th Edition, Springer-Verlag, Berlin, 1070 p.
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2539). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร.
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp
www.foodfocusthailand.com/home.php
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอนจัดได้ชี้แจงแบบประเมินทางออนไลน์ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา หลังจากที่ได้ศึกษารายวิชา ครบ 15 สัปดาห์ โดยให้นักศึกษาประเมินหลังจากการสอบปลายภาค ว่านักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ประโยชน์ ที่นักศึกษาได้รับ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะจากนักศึกษา เพื่อการปรับปรุงรายวิชา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน ร่วมกันประเมินการสอน โดยประเมินจากนักศึกษา สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอน และสภาพแวดล้อมระหว่างการเรียนการสอน โดยประเมินจากกระบวนการสอน ผลที่เกิดกับนักศึกษา หลังจากสอบปลายภาค
 การสอนถูกปรับปรุงโดยนำข้อมูลจากการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาและการประเมินการสอน ข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัยข้อมูลจากการฝึกอบรมต่างๆ ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา หรือคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชา มาปรับปรุงเนื้อหาภาคทฤษฎี บทปฏิบัติการ และวิธีการสอนให้เหมาะสมกับนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
คณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการจากนักศึกษา คะแนนสอบของนักศึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และปัญหาที่นักศึกษาเข้าปรึกษากับอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้สอนนำข้อมูลดังกล่าวเข้าขอคำปรึกษาภายในที่ประชุมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านอื่นๆ เพื่อร่วมกันแนะนำแนวทาง วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหา อีกทั้งยังนำข้อมูลดังกล่าวไปทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้  หากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมภาควิชาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป