เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamentals of Chemistry for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
      เข้าใจพื้นฐานการศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและแนวโน้มสมบัติของธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส สารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี ปฏิกิริยากรด-เบส
1. เพื่อให้เนื้อหาทันสมัยและเหมาะสมกับผู้เรียน
2. ส่งเสริมความรู้ให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2. สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
    ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและแนวโน้มสมบัติของธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส สารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี ปฏิกิริยากรด-เบส
          Study and Practice of atomic structure, periodic table and properties of elements, chemical bond, stoichiometry, solid, liquid, gas, solutions, chemical kinetics, chemical equilibrium, acid-base reaction
นักศึกษาสามารถติดต่อเพื่อนัดเวลากับ อาารย์ผู้สอนได้ตามเบอร์โทรศัพท์ของอาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาแต่ละท่าโดยมีผู้สอนร่วมทั้งหมด 4 ท่าน
1. อ เพ็ญพร  วินัยเรืองฤทธิ์  0913838493
2. อ. สุรัสวดี ปริโพธ   0899603088
3. อ. ธนิสสรา พินิจมนตรี   0966698656
4. อ มานิตา ดุมกลาง  0954594696
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามวามก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
2. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน
3. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย
2. แบบฝึกหัด และการนำเสนองาน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ทำปฏิบัติการ
2. ให้นำเสนอผลการทดลอง โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สามารวิเคราะห์ผลการทดลองได้โดยสามารถประมวลผลเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนได้
2. นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุรธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 3 1 2 3 2
1 FUNSC203 เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 9,17 10%
2 1.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า นำเสนองาน รายงานที่ได้รับมอบหมาย การทำงานกลุ่ม ปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 2.1, 5.2 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ทดสอบภาคปฏิบัติแบบกลุ่ม 9, 10, 17, 18 60%
1. อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 6, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2539.
2.คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี ทบวงมหาวิทยาลัย, เคมีเล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 7, สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด, กรุงเทพฯ, 2536.
3.ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีสำหรับวิศวกร, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด, กรุงเทพฯ, 2545.
4.ดร. อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2512.ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2540.
5.รองศาสตราจารย์ ดร. พินิต รตะนานุกูล และคณะ , โครงการตำราวิทยาศาตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน.:เคมี 3, พิมพ์ครั้งที่ 3, บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด , กรุงเทพฯ, 2553
6. เกษม พลายแก้ว , เคมีทั่วไป1 , สำนักพิมพืจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ, 2553
7. รศ. ดร. ทวัชัย อมรศักดิ์ชัย และคณะ , เคมี 1, พิมพ์ครั้งที่ 3 , สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล , กรุงเทพฯ, 2553
8. รศ. ดร. ทวัชัย อมรศักดิ์ชัย และคณะ , เคมี 2, พิมพ์ครั้งที่ 12 , สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล , กรุงเทพฯ
9. ดร.เรวัติ ตันตยานนท์ และอรชุน โชคชัยเจริญพร , เคมีขั้นสูง, สำนักพิมพ์นานมีบุ๊ค จำกัด,กรุงเทพฯ, 2558
 
ใช้การประเมินตามแบบประเมิน
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และสังเกตการณจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. การประเมินผลการสอนของอาจารย์
3. การประเมินตามแบบประเมินความพึงพอใจ
1. การประเมินผลจากการตรวจใบงาน แบบฝึกหัด
2. การสังเกตพฤติกรรม และการมีส่วนร่วม
3. การทดสอบลางภาค
4. การทดสอบปลายภาค
1. การปรับปรุงแบบเมินผลจากการตรวจใบงาน แบบฝึกหัด
2. การจัดกิจกรรมการศึกษาระหว่างการเรียนการสอน
3. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย เป็นต้น
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง