เครื่องจักรกลไฟฟ้า 1

Electrical Machines 1

อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานสนามแม่เหล็ก การสูญเสียในแกนเหล็ก การทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรสมมูล เฟสเซอร์ ไดอะแกรมและสมรรถภาพ หม้อแปลงไฟฟ้า การออกแบบพื้นฐานของหม้อแปลง ส่วนประกอบหม้อแปลงกำลัง หม้อแปลงหลายเฟสและกลุ่มเวกเตอร์ การเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล พื้นฐานการทำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้า สภาวะ ของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากรณี แรงบิดคงที่ โครงสร้างและคุณลักษณะทั่วไปของ เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ กระแสตรง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ้า 1 ทั้งหลักทฤษฎีและหลักปฏิบัติ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการนำไปพัฒนา ประยุกต์ใช้งานในการประกอบอาชีพในอนาคต ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยี และนวัตรกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานสนามแม่เหล็ก การสูญเสียในแกนเหล็ก การทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรสมมูล เฟสเซอร์ ไดอะแกรมและสมรรถภาพ หม้อแปลงไฟฟ้า การออกแบบพื้นฐานของหม้อแปลง ส่วนประกอบหม้อแปลงกำลัง หม้อแปลงหลายเฟสและกลุ่มเวกเตอร์ การเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล พื้นฐานการทำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้า สภาวะ ของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากรณี แรงบิดคงที่ โครงสร้างและคุณลักษณะทั่วไปของ เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ กระแสตรง
Study and practice of the magnetic circuit. Energy of the magnetic field, the loss in the core The function of a transformer equivalent circuit diagram, stereotypical and competency, transformer, the basic design of the transformer, transformers are components multi-phase transformer and vector, the converting of electrical energy into mechanical energy, the basic operation of electrical machinery, the state of the electrical, mechanical torque constant structure and mechanical characteristics of DC and the speed control of DC motors.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความรับผิดชอบ ต่อจรรยาบรรณทา
วิชาการ และวิชาชีพ ตลอดจนมีวินัย ความขยันอดทน การตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนี้
˜1.1.2 ปลูกฝังให้นักศึกษาให้ยึดถือ และนำจรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพที่ได้นำไปใช้งาน
˜1.1.3 ปลูกนักศึกษาให้เป็นผู้มีวินัย ขยันอดทน การตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
กำหนดให้นักศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกาย การสอนเน้นการสอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีทัศนคติที่ดีในการช่วยเหลือผู้อื่น ทัศนคติด้านการรักษาสภาพแวดล้อมและการลดการใช้พลังงาน
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน พฤติกรรมในห้องเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในกิจกรรมที่มีการมอบหมายต่างๆ
1.3.3 ประเมินการมีคุณธรรมจริยธรรมจากการทดสอบในแต่ละครั้งๆ
1.3.4 ประเมินความรับผิดชอบในงานที่รับมอบหมาย ความเรียบร้อยของงาน การช่วยเหลืองานในกลุ่ม
˜2.1.1 ต้องได้รับความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายทฤษฎี อภิปรายเกี่ยวกับหลักทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยสอดคล้องกับเนื้อหาเครื่องจักรกลไฟฟ้า การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งเน้นนวัตกรรมใหม่หรืองานวิจัยใหม่ มีการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลไฟฟ้า
เน้นรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ MS Team, Line, Zoom
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการทฤษฎี และปฏิบัติ
2.3.3 ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดและการทำการทดลอง รวมถึงการวิเคราะห์และอภิปรายผลการทดลอง
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาเเล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์จะเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้
˜3.1.1 พัฒนาทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
š3.1.2 พัฒนาทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษานำเสนอแนวความคิด และปัญหาที่สนใจที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชาเครื่องจักรกลไฟฟ้า
3.2.2 ให้นักศึกษาได้ลงปฏิบัติ และแก้ไขสภาพปัญหาจริง ในรูปแบบการพัฒนาอุปกรณ์ โดยใช้องค์ความรู้ที่ศึกษาจากทฤษฎี
3.2.3 การอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการนำทฤษฎีที่เหมาะสมมาใช้
เน้นรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ MS Team, Line, Zoom
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา และการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3.3 สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
š4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำ และผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
š4.1.3 พัฒนาความสามารถในการทำงานเป็นทีม เพื่อการแก้ไขปัญหา
4.2.1 กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี
4.2.3 การนำเสนอรายงาน และการซักถาม-ตอบคำถาม
เน้นรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ MS Team, Line, Zoom
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการระหว่างการเข้าร่วม และความสนใจ
4.3.3 ประเมินจากการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
š5.1.2 ทักษะในการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา
ดำเนินการสอนโดยมอบหมายงานหรือหัวข้อที่ต้องใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หรืองานวิจัยที่น่าสนใจ ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยให้นำเสนอผ่านการทำเล่มรายงานพร้อมการนำเสนอความคิดสนับสนุน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
เน้นรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ MS Team, Line, Zoom
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการสอบข้อเขียนทางด้านการพัฒนาทางความคิด จากตัวอย่างสมมุติ
การเรียนการสอนเน้นความสำคัญไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม
˜6.1.1 พัฒนาทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนได้
จัดกิจกรรมเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์แก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
เน้นรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ MS Team, Line, Zoom
6.3.1 ประเมินพฤติกรรมจากการปฏิบัติงาน
6.3.2 ประเมินผลจากการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.3 ประเมินจากโครงงานนักศึกษา
6.3.4 ประเมินจากการนิเทศนักศึกษาขณะปฏิบัติการสอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE107 เครื่องจักรกลไฟฟ้า 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3.3, 2.3.1, 2.3.2, 3.3.1 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 7 14 17 5% 20% 5% 25%
2 1.3.4, 2.3.3, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.3 - การทดลองและรายงาน - โครงงานประยุกต์ ตลอดภาคการศึกษา 20% 15%
4 1.3.1, 1.3.2, 3.3.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
- Stephen J. Chapman, Electric Machinery Fundamentals, McGRAW – HILL
- เอกสารประกอบการสอนวิชาเครื่องจักรกลไฟฟ้า 1
- เอกสารการทดลองรายวิชาเครื่องจักรกลไฟฟ้า 1
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ