ธุรกิจและสิ่งแวดล้อม

Business and Environment

1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1.2  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศักยภาพสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1.3  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม แนวโน้ม ทิศทาง และผลกระทบในการดำเนินธุรกิจ
1.4  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมในการดำเนินธุรกิจ
1.5  เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้อย่างเหมาะสมกับธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
          เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความทันสมัย สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาผู้เรียนให้มีมุมมองในการประกอบธุรกิจ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของความรู้ และการปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน รวมทั้งการสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่สังคม
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของธุรกิจ สภาพแวดล้อมของธุรกิจในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และสภาพภูมิศาสตร์ แนวโน้มและทิศทางของธุรกิจ ผลกระทบต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ การปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน การสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่สังคม
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ติดประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องพักอาจารย์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื้อสัตยืสุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อวเลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3. มีความเคราพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
   1. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา (ข้อ 1, 2, 3)
   2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย    (ข้อ 1, 2, 3)
1.  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (ข้อ 1, 2, 3)
2.  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน (ข้อ 1, 2, 3)
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
1. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน  (ข้อ 2, 3, 4)
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป (ข้อ 2, 3, 4)
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (ข้อ 2, 3)
2. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ (ข้อ 3, 4)
3. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา (ข้อ 3, 4)
2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ
      การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น (ข้อ 2)  
   ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน (ข้อ 2)
2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 2, 4)
2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม (ข้อ 2, 4)
 
1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา (ข้อ 2, 4)
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน (ข้อ 2, 4)
2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา (ข้อ 2, 4)
2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (ข้อ 2, 4)
ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม (ข้อ 2, 4)
4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
         ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 20% 20%
2 1.1.1 1.1.2 1.1.3 3.1.2 5.1.1 5.1.2 5.1.3 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 4.1.1 4.1.2 4.1.4 การเข้าเรียน ร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10%
จินตนา  บุญบงการ. 2557. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน
1.3 ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาระหว่างเรียน
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลสัมฤทธ์การเรียนรู้ในรายวิชา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  หรือ
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบกลางภาคและปลายภาค และหลังจากการตัดเกรดผลการเรียนในรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบจากการออกข้อสอบ การให้คะแนนสอบ หรืองานที่มอบหมาย  และรวมถึงการให้คะแนนพฤติกรรมโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   จัดให้มีการประเมินการเรียนรู้ในรายวิชาโดยนักศึกษา
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน หรือปรับปรุงกิจกรรม/โครงงานที่มอบหมาย  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในการประยุกต์ความรู้นี้กับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง