มูลฐานของวิศวกรรมการผลิต

Fundamentals of Production Engineering

 

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในงานการผลิต และ กระบวนการผลิตในอุตสหากรรม
2. เพื่อให้นักศึกษามีคามรู้ความเข้าใจปวิทยาการทางวิศกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการกระบวนการผลิต
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจกระบวนการการพยากรณ์สำหรับการจัดการด้านการผลิต
4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถความรู้ความเข้าใจการวางแผนการผลิต และการควบคุณคุณภาพ
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถคำนวนหาเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการพยากรณ์ เพื่อการใช้หลักการพยากรณ์ในการวางแผนการดำเนินการผลิตได้อย่างเหมาะสม
6. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดลำดับงานและตารางการผลิต ตลอดการจัดสมดุลสายการผลิตไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
7. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำการวิเคราะห์กระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม
8. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผนและการวิเคราะห์กระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสมสู่การนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการทางวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ การพยากรณ์การจัดการผลิต การวางแผนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การจัดลำดับงานและตารางการผลิต ตลอดจนการจัดสมดุดลสายการผลิต โดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม
เรียนรู้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการทางวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ ซึ่งเป็นการประสานความรู้เชิงกว้างในการ ปฏิบัติการทางวิศวกรรมและใช้ความรู้ทางด้านการจัดการที่ท้าทายต่อการผลิตให้มุ่งสู่เป้าหมายของความสำเร็จในการทำให้กระบวนการผลิตไม่สะดุด รอบคอบ มากที่สุด และ เป็นแนวทางที่ประหยัดที่สุด Learn about, combination of products and production process in industry, engineering sciences with management science; a production engineer typically has a wide knowledge of engineering practices and is aware of the management challenges related to production, the goal is to accomplish the production process in the smoothest, most-judicious and most-economic way.
 จำนวน  3  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลจำนวน  1-2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยใช้ระบบทั้งออนไซค์และไลน์แบบ ไลน์ E-mail  Messenger โทรศัพท์ ที่เป็นวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางต่างๆ ต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย โดยมีแนวทางดังนี้
1.2.1 การกำหนดเวลาการเข้าชั้นเรียน
1.2.2 ให้นักศึกษาตระหนักด้านความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น 
1.2.3 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรม เช่น  การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา  การเข้าร่วมกิจกรรม  เป็นต้น
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าฝึกปฏิบัติการ
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบและความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านการผลิตและกระบวนการผลิต งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง  และการสร้างนวัตกรรมที่เกี่ยวกับเมคคาทรอนิกส์
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาวิชา มูลฐานของวิศวกรรมการผลิต (Fundamentals of Production Engineering  ) ที่เน้นหลักการผลิต กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการทางวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ การพยากรณ์การจัดการผลิต การวางแผนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การจัดลำดับงานและตารางการผลิต ตลอดจนการจัดสมดุดลสายการผลิต โดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมการพยากรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้    
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ดังนี้
2.2.1 สอนโดยใช้ระบบแบบออฟไลน์ผ่านสื่อการนำเสนอแบบโปรแกรมนำเสนอ และการใช้ตำราในการศึกษาความรู้
2.2.2 จัดการสอนในหลากหลายรูปแบบ  โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี  เช่น การบรรยาย การอภิปราย การสาธิต การจัดทำรายงาน การใช้ปัญหาเป็นฐาน การโปรแกรมสำเร็จรูปอย่างง่าย  เป็นต้น 
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
          2.3.1 การทดสอบย่อย
          2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
          2.3.3 ประเมินจากรายงานและใบงานที่นักศึกษาจัดทำ
          2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลการผลิต และกระบวนการผลิตประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีมาปรับใช้กับการปฏิบัติได้ถูกต้อง และมีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 

มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลองและกรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ การอภิปรายกลุ่ม เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริงและได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี้
3.2.1 ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหาทั้งระดับบุคคลและกลุ่ม โดยใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การใช้กรณีศึกษา การอภิปราย  การรายงาน  การสาธิต เป็นต้น
3.2.2 แนะนำวิธีการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง
 
ประเมินตามสภาพจริงจากใบงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ ดังนี้
3.3.1 ประเมินทักษะกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้กรณีศึกษา
3.3.2 ประเมินจากผลงานการศึกษาค้นคว้าและการวิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างเป็นระบบ เช่น รายงานการค้นคว้าอิสระ รายงานการอภิปรายกลุ่ม เป็นต้น
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
        ใช้การสอนที่มีการกำหนดการปฏิบัติงานให้มีการทำงานเดี่ยวและกลุ่มโดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้
4.2.1 สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้อย่างดี
4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 มีภาวะผู้นำ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล ดังนี้
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
4.3.2 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตลอดจนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถนำเสนอผลงานโดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการในวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ โดยการติดต่อสื่อสารค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.2.1 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  และการสื่อสารหลากหลายรูปแบบและวิธีการ
5.2.2 จัดการเรียนรู้ด้านสถิติ  สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและฝึกแก้ไขปัญหาโจทย์ที่ต้องใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์หรือสถิติ
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือ           ต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
5.3.3 ประเมินจากเทคนิคการวิเคราะห์และการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ไขปัญหา
5.3.4 ประเมินทักษะการฟัง  พูด  อ่าน  เขียน โดยใช้แบบทดสอบ  แบบสังเกต  เป็นต้น
5.3.5 ประเมินการนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี
6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ
6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6.1.3 มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง
ให้นักศึกษาได้ทดลองมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากทางทฤษฎีที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการทางด้านพื้นฐานทางวิศวกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.2 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านการผลิตได้อย่างเหมาะสม
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและจดบันทึก
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.3 พิจารณาจากแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ในรูปแบบของรายงาน ชิ้นงาน และสื่อต่าง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGMC119 มูลฐานของวิศวกรรมการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งใบงาน ตลอดภาคการเรียน 25%
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 สอบกลางภาค / ปลายภาค 8 / 17 35% / 40%
ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต ผู้เขียน รศ.พิภพ ลลิตาภรณ์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. การควบคุมการผลิต การออกแบบ และวางผังโรงงาน Plant Layout And Design ผู้เขียน สมศักดิ์ ตรีสัตย์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. Facility Layout and Location: An Analytical Approach by Richard L. Francis , Leon F. McGinnis,Jr. and John A. White
ตำราเรื่องระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต ผู้เขียน รศ.พิภพ ลลิตาภรณ์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. การควบคุมการผลิต การออกแบบ และวางผังโรงงาน Plant Layout And Design ผู้เขียน สมศักดิ์ ตรีสัตย์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. Facility Layout and Location: An Analytical Approach by Richard L. Francis , Leon F. McGinnis,Jr. and John A. White
ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต ผู้เขียน รศ.พิภพ ลลิตาภรณ์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. การควบคุมการผลิต การออกแบบ และวางผังโรงงาน Plant Layout And Design ผู้เขียน สมศักดิ์ ตรีสัตย์ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. Facility Layout and Location: An Analytical Approach by Richard L. Francis , Leon F. McGinnis,Jr. and John A. White
1. ประเมินจากการใส่ในในการเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การซักถาม
2. การประเมินจากใบงานในแต่ละบทการเรียน
3. การประเมินในส่วนของการทดสอบกลางภาคและปลายภาค
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียน 2. การสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ประเมินจากรายงานกลุ่ม  และการนำเสนองานกลุ่ม
1. อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอน  จากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำแฟ้มสะสมงานรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา  (มคอ.05) ต่อวิชาการ 2. นำเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ภาควิชาเพื่อประชุมสรุปร่วมกัน และกำหนด แนวทางแก้ไขต่อไป
ทำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการประเมินคุณภาพของข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน และงานที่มอบหมาย เพื่อนำมาทบทวนให้สอดคล้องตาม มคอ.2
จากผลการประเมิน  และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา   ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน  และรายละเอียดเนื้อหาวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น