หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม

Principles of Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในหลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในการทำงาน และการเรียนวิชาที่สูงขึ้นไปในอนาคต รวมถึงให้เกิดการฝึกมุงมองแบบวิศวกร ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง ระบบแรง สมดุลสถิต แรงเสียดทาน แรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล เคเนเมติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง เคเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็งโดยใช้กฎของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนตัม บทนำสู่การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต
-    อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
  1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ

ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้าง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีจากการบรรยาย และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและปัญหาจริง
ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
 
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีจากการบรรยาย และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและปัญหาจริง
ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง และ
สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานในส่วนที่ไม่ได้จัดการเรียนการสอนให้
ผลของงานที่มอบหมายในหัวข้อที่ไม่ได้จัดการเรียนการสอนให้
สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1  ทำการสอนโดยใช้แสดงการใช้เครื่องมือคำนวนเป็นตัวอย่าง
5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E-Learning จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำมาใช้กับงานที่มอบหมายให้
5.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมและวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.2   ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 3 3
1 ENGCC502 หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - เวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การแต่งกาย - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ - คะแนนการสอบย่อย - คะแนนการสอบกลางภาคเรียน - คะแนนการสอบปลายภาคเรียน 3, 6, 11, 14 8 17 55
3 ทักษะทางปัญญา - การลำดับการแก้ไขบัญหาในการทำข้อสอบ 3, 6, 8, 11, 14, 17 15
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ - พฤติกรรมการทำงานและการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15
5 ทักษะวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ - สังเกตความถูกต้องของการคำนวณด้วยเครื่องคิดเลข - พฤติกรรมการหาความรู้จากแหล่งภายนอกและการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดภาคการศึกษา 5
 Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics STATICS. 7th ed., Wiley.
Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics DYNAMICS. 7th ed., Wiley.
Hibbeler, R. C.. Engineering mechanics 13th ed. New York: Macmillan.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยทำการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
 
ในระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ