การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

Ecotourism

1.1 เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในแหล่งท่องเที่ยว 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการการวางแผนและการดำเนินการ รูปแบบการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่สำคัญ 1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีพในป่า เทคนิคการพักแรมและการจัดนำเที่ยวเชิงนิเวศแก้ไข
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะใหม่ๆที่มีความสร้างสรรค์ตามยุคสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง และนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้อย่างถูกต้องตามหลักการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแก้ไข
 
ความหมาย หลักการจัดการ องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเขิงนิเวศ การวางแผนและการดำเนินการ การประชาสัมพันธ์ การติดตาม ประเมินผล
รูปแบบ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เทคนิคการพักแรม การดำรงชีพในป่า การนันทนาการที่เหมาะสม แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่สำคัญในประเทศไทย
ความสำคัญของการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และแนวทางการป้องกัน ผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยว มาตรฐานการท่องเที่ยวระดับชาติและระดับนานาชาติ
การฝึกปฏิบัติภาคสนามหรือจัดนำเที่ยวเชิงนิเวศ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านระบบออนไลน์ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)แก้ไข
 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา  
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม -มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ -มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ -มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคมแก้ไข
 
-สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ -สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน -สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณแก้ไข
 
-สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน -ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงานแก้ไข
 
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
 
ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ -มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแก้ไข
 
-การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ -มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม -ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ -อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง -การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
-ทดสอบทฤษำีและปฏิบัติโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา  
-มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก -มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ พัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผลแก้ไข
 
-ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยวเชิงนิเวศ -การอภิปรายเป็นกลุ่ม -การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาแก้ไข
 
-ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ - การสอบข้อเขียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
 
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนใน กลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
-มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม -สอนโดยใช้กรณีศึกษา
-ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
 
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
-ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทัักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. การวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH130 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การมีส่วนร่วในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 Quiz 10%
3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 50%
4 การนำเสนอแนวทางการพัฒนาโปรแกรม 10%
5 การจัดทำโปรแกรมร่วมกับชุมชน 20%
เอกสารประกอบการสอน วิชา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ตำราอ้างอิง
Ecotourism and Sustainable Development,Martha Honey
Ashoka Trust for Research in Ecology and the Environment 2006, White Paper on Eco-Tourism Policy, ATREE, Bangalore. Beaumont, N 2011, The third criterion of ecotourism: Are ecotourists more concerned about sustainability than other tourists?, University of Southern Queensland, viewed 11 November 2013, https://eprints.usq.edu.au. Beeton, S 2000, Ecotourism: A Practical Guide for Rural Communities, Brown Prior Anderson, Australia. Blamey, RK 2001, ‘Principles of ecotourism’, in DB Weaver (eds.), The Encyclopedia of Ecotourism, CABI Publishing, UK.
นโยบายและแผนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วารสาร บทความจากเว็บไซด์ของหน่วยงานระดับสากลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้
ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้
ข้อเสนอแนะอื่นๆแก้ไข
 
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและการประเมินการจัดการเรียนการสอน (โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้
ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง ในประเด็นต่อไปนี้
ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการมีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้ 3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละครั้ง 3.2 ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้
ผลการศึกษาของนักศึกษา
ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาแก้ไข
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้ และวิธีการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษา
นำข้อมูลที่ได้รับจากการประเมินผู้สอนมาใช้ในการปรับปรุงทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและประเมินผล ในปีการศึกษาต่อไปแก้ไข