พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Fundamentals of Information Technology

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประโยชน์ของเทคโนโลยี
1. เรียนพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน และในองค์กรด้านต่าง ๆ รูปแบบการใช้งานสารสนเทศจากอดีตถึงปัจจุบัน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ และการพัฒนาเว็บเบื้องต้น เอชทีเอ็มแอลรุ่น 5.0 จาวาสคริปต์
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ ในช่วงวิชาในรายวิชา
 

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา อภิปรายกลุ่ม/ทำงานเดี่ยว/กลุ่ม หรือ ส่วนตัวส่งเป็นชิ้นงาน นำเสนองานที่สามารถเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการศึกษาได้เพื่อเป็นชิ้นงาน
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากการใช้งานจริง
4. ประเมินผลงานการพัฒนาและให้สมาชิกสอบถามและแนะนำ
การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐาน เพื่อช่วยงานด้านต่างๆ ในวงการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
บรรยาย  อภิปราย ฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอใบงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากงานที่มอบหมายหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ โดยเป็นโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ทดสอบปฏิบัติย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางปฏิบัติงานการเขียนโปรแกรมและทฤษฏีเนื้อหา
2. ประเมินจากการเขียนโปรแกรมตามที่มอบหมาย และนำเสนอผลการทำงานของชิ้นงานจากกรณีศึกษาที่นักศึกษาค้นคว้าและสร้างเอง หรือมีโจทย์จาก Problem – based Learning จากชีวิตประจำวัน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ ขั้นตอน มีการวิเคราะห์แนวคิดอย่างมีขั้นตอน  
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2. สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การมอบให้นักศึกษาที่ได้ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากการที่นักศึกษาได้ค้นคว้าเอง และนำเสนอผลงานของตนเอง
2. อภิปรายลักษณะงาน
3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีอย่างที่เหมาะสม
4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติและการปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยออกในรูปแบบผลงานนักศึกษาที่ได้ปฏิบัติจริง
1. สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีแนวคิดแก้ปัญหา วิเคราะห์โจทย์  
2. วัดผลจากการประเมินงาน การนำเสนอผลงานของนักศึกษา
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติงาน
1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
5.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การทำใบงาน และวิเคราะห์โจทย์นำมาใช้งาน ทั้งตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
3. การนำเสนอผลงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงาน  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างชิ้นงานให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งาน
2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีสำหรับการนำคอมพิวเตอร์ไปนำเสนอที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีนำเสนอตามผลงานในลักษณะงานของนักศึกษา
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ
สามารถเรียนรู้และเข้าใจกระบวนการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้นักศึกษาประยุกต์กรณีศึกษาทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จำนวนชิ้นงาน และการประเมินความเข้าใจ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT101 พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 A ดีเยี่ยม 80 คะแนนขึ้นไป B+ ดีมาก 75 - 79 B ดี 70 - 74 C+ ดีพอใช้. 65 - 69 C พอใช้. 60 - 64 D+ อ่อน. 55 - 59 D. อ่อนมาก 50 - 54 F. ตก. 0 - 49 กลางภาค ปลายภาค โครงงาน WorkShops หัวข้ออิสระ ตลอดรายวิชา เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล มีดังนี้ กลางภาค 25% ปลายภาค 25% โครงงาน 10% WorkShops 20% หัวข้ออิสระ 20%
ประชา พฤกษ์ประเสริฐ, สร้างเว็บและเพิ่มลูกเล่นด้วย HTML & XHTML, กรุงเทพ : บริษัท ซัคเซส มีเดีย จำกัด, ISBN 978-974-489-603-2
 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้อง  https://www.w3schools.com/