งานฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Basic Computer Engineering Skills

ฝึกปฏิบัติการพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวกับเครื่องมือวัด เครื่องมือกลพื้นฐาน เทคนิคการใช้อุปกรณ์ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คุณสมบัติและการประยุกต์ใช้วัสดุวิศวกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ Practice of basic computer engineering about measurement tools, basic mechanical tools, techniques for using equipment, work safety, properties and applications of common engineering materials, ethics and codes of conduct in computer-related professions.
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์หรือ อีเมล์
 -    อาจารย์ จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้ในงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 อภิปลายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนาดบทบาทสมมุติ
1.3.1    ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงเวลา
1.3.2     ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่ได้รัมอบหมาย
1.3.3     ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
มีความรู้ในการใช้เครื่องมือวัด เครื่องมือกลพื้นฐาน และเทคนิคการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
         บรรยาย อภิปลายเกี่ยวกบการใช้เงาน เครื่องมือวัด เครื่องมีกลพื้นฐาน เทคนิคการใช้อุปกรณ์ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
      2.3.1    ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
      2.3.2    ประมินจากการทำแบบฝึกหัด หรือการตอบคำถามในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากหลักทฤษฎี
3.2.1   สอนการคิดอย่างเป็นระเบียบ โดยการยกตัวอย่างจากสภาพต่างๆ
3.2.2   วิเคราะห์การณีศึกษา ในการนำทฤษฎีเลือกใช้ให้เหมาะสม
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติของนักศึกษา
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์และ
        การประยุกต์ใช้ทฤษฎี
3.3.2   วัดผลจากการเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
   3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนาดเวลา
4.3.1   ประเมินจากรายงานกลุ่มที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน การฟัง การแปล ระหว่างการสอนภาคทฤษฎี และการรายงานกลุ่ม
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษาะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งอีเมล์ และ การสื่อสารสังคมออนไลน์ต่างๆ
มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษาด้วยตนเองจากเว็บไซต์ อภิปลายในห้องเรียนตามเวลาและจังหวะที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่อง นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
              6.1.1    สามารถใช้เครื่องมือ อุปกณณ์ ได้อย่างถูกต้อง
              6.1.2    มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักวิชาการ สาธิตการเครื่องมือวัด และเครื่องมือกล อย่างถูกต้องตามหลักการใช้งาน มอหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา ให้มีการรับผิดชอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัตงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ ในเรื่องเวลา วิธีการ และผลงานที่ได้รับ การทำงานร่วมกัน พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,3.1 3.1 3.1,5.1 - สอบกลางภาค - ทดสอบย่อย - สอบปลายภาค 4 8 12 16 5% 20% 5% 20%
2 2.1,4.1 - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 2.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
           Paul Scherz,Practical Electronics for Inventer : MxGraw Hill
ข้อมูลจากเว็บไซต์โดยค้นหา คำว่า  การใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัด กาใช้อุปกรณ์เครื่องมือกล
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์เรียนของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ