เทคโนโลยีขนมอบ

Bakery Technology

1.1  สามารถอธิบายคุณลักษณะ โครงสร้าง และองค์ประกอบของข้าวสาลีได้
1.2  สามารถจำแนกและอธิบายคุณสมบัติและหน้าที่ของวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตขนมอบ
1.3  มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
1.4  เข้าใจหลักการควบคุมคุณภาพ การเสื่อมเสียของผลิตภัณฑ์ขนมอบ สุขลักษณะและการจัดโรงงานเบเกอรี
1.5  มีทักษะการปฏิบัติงาน และสามารถประยุกต์ใช้หรือนำความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
2.1  เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ
2.2  เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน ได้แก่
-  มอบหมายงานให้นักศึกษา ค้นคว้าหัวข้อเฉพาะทาง งานวิจัย บทความวิจัยระดับนานาชาติ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยีขนมอบ ย้อนหลัง 5 ปี  ในหัวข้อที่ตนเองสนใจ
-  มีการวัดผลการฝึกปฏิบัติ โดยการสอบปฏิบัติ นอกเหนือจากการประเมินผลในระหว่างการทำปฏิบัติการ และผลปฏิบัติการของนักศึกษาต่อไป
ศึกษาโครงสร้าง ชนิด ส่วนประกอบพื้นฐานของข้าวสาลีลักษณะกายภาพและเคมีของแป้งสาลี สมบัติและหน้าที่ต่าง ๆ ของวัตถุดิบที่ใช้ในการทาขนมอบ วิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำขนมอบ การผลิตผลิตภัณฑ์ขนมอบที่ใช้ยีสต์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผงฟู และขนมอบชนิดต่าง ๆ การควบคุมคุณภาพ และการเสื่อมเสียของผลิตภัณฑ์ขนมอบ สุขลักษณะและการจัดโรงงานเบเกอรี่
Fundamental study on structure, types and composition of wheat; physicochemical properties of wheat flour; properties and functions of bakery raw materials; instruction of bakery tools and equipments; production of yeast dough products, leavening products and other types of bakery products; quality control and spoilage of bakery products; hygienic and bakery plant design.
    3.1  วันพฤหัสบดี  เวลา 16.30–17.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร โทร.0-5529-8438 ต่อ 1188
    3.2  E-mail.  unnop_tas@rmutl.ac.th  เวลา 20.00–21.00 น. วันเสาร์และวันอาทิตย์
š1.1  มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2  แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม
š1.4  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.5  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.  ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ขาดวินัย และความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม ในฐานะนักวิทยาศาสตร์การอาหาร ตลอดจนผลกระทบที่ตามมา
2  สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในวิชา มีการตรวจเช็คการเข้าเรียน การแต่งกาย พฤติกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
1.  การตรวจสอบการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2.  ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน ในการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์
3.  ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
4.  ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
˜2.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2  มีความรู้ในสาขาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜2.3  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
š2.4  รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1.  สอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง และตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาซักถาม และแสดงความคิดเห็น และมีกิจกรรมเสริมนอกชั้นเรียนโดยมีการมอบหมายงานให้เป็นกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาฝึกทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีการนำเสนองานที่มอบหมายตามระยะเวลาที่กำหนด
2.  ศึกษาจากสถานการณ์จริง มีการอภิปรายกลุ่มย่อย มีการศึกษาด้วยตนเอง และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
 
ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
1.  การสอบวัดความรู้
2.  ถาม-ตอบปัญหาในชั้นเรียน
3.  ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.  การนำเสนองานที่ได้มอบหมายในชั้นเรียน
 
š3.1  มีความสามารถในการ ค้นหาข้อเท็จจริง  ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆโดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
š3.2  สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
š3.3  สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜3.4  มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1.  ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ขนมอบชนิดต่าง ๆ โดยบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)
2.  ฝึกตอบคำถามและแก้ปัญหาในชั้นเรียนระหว่างการทำปฏิบัติการ และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
1.  ประเมินผลทำปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์ขนมอบชนิดต่าง ๆ ทั้งในส่วนของกระบวนการ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้
2.  ทักษะในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงาน ร่วมถึงการวางแผนและความพร้อมในการทำปฏิบัติการแต่ละครั้ง
˜4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในกลุ่ม
š4.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3  วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
š4.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1.  สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ และการมีการนำเสนอรายงาน
1.  การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
š5.1  สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
š5.2  สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3  สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š5.4  มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล
š5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
˜5.6  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.7  สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1.  มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การนำเสนองานโดยใช้ Power point และวีดีโอ การเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ
2.  นำเสนองานกลุ่มต่อชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ  รวมถึงการเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ
1.  ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การนำเสนอความรู้ใหม่
2.  การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ
3.  การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
4.  เอกสารรายงานของนักศึกษา และการสอบ
˜6.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1.  จัดให้นักศึกษาทำงาน/ปฏิบัติการเป็นกลุ่ม โดยกำหนดให้ใช้เครื่อง อุปกรณ์ และวิธีการทำปฏิบัติการอย่างเหมาะสม
1.  ประเมินจากความประสบความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการ ค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆโดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT113 เทคโนโลยีขนมอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย - ความมีน้ำใจต่อเพื่อนและคณาจารย์ ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในกลุ่ม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ - การสังเกต - รายงานผลปฏิบัติการ หรือสอบย่อย - ความสนใจและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การสอบปฏิบัติ นอกเหนือจากการประเมินผลในระหว่างการทำปฏิบัติการ และผลปฏิบัติการของนักศึกษา 1-14 (เว้น 9 และ 18) 30%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา - การสอบกลางภาค(หน่วยที่ 1-3) - ไม่ทุจริตในการสอบ 9 20%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา - การสอบปลายภาค (หน่วยที่ 4-7) - ไม่ทุจริตในการสอบ 18 30%
5 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในกลุ่ม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การนำเสนองาน/งานมอบหมาย 17 10%
จิตธนา แจ่มเมฆ และ อรอนงค์ นัยวิกุล.  2554. เบเกอรีเทคโนโลยีเบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 11.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.  224 หน้า.
-  มาตรฐานและกฎหมายอาหารต่าง ๆ
-  เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย.
-  วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3  แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3.1  ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา เห็นควรมีการวัดผลการฝึกปฏิบัติ โดยการสอบปฏิบัติ นอกเหนือจากการประเมินผลในระหว่างการทำปฏิบัติการ และผลปฏิบัติการของนักศึกษาต่อไป
4.1  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2  คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5 โดยคณะผู้สอนเห็นควรมีการวัดผลการฝึกปฏิบัติ โดยการสอบปฏิบัติ นอกเหนือจากการประเมินผลในระหว่างการทำปฏิบัติการ และผลปฏิบัติการของนักศึกษาต่อไป
5.2  สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว
โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป