อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ

Comparative Civilization and Religions

1) เข้าใจความเป็นมาของอารยธรรมไทยในช่วงเวลาก่อนรับอิทธิพลต่างชาติและสมัยที่รับอิทธิพลต่างชาติ 2) วิเคราะห์ผลกระทบจากอิทธิพลต่างชาติที่มีผลต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย 3) เปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก 4) เข้าใจเกี่ยวกับความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับอารยธรรมต่างๆที่ความสำคัญประเทศไทย มาใช้กับการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้
ศึกษาความเป็นมาและเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก ความเชื่อ ในการนับถือศาสนาต่าง ๆ โดยเนนอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทย ในชวงเวลา ก่อนและหลังรับอิทธิพลต่างชาติ วิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย
เกณฑ์การเข้าห้องเรียนวิชา อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ 1. นักศึกษาขาดเรียน 3 ครั้ง เท่ากับ หมดสิทธิ์สอบ 2. นักศึกษาเข้าเรียนสาย เกิน 20 นาที เท่ากับ ขาด 1 ครั้ง 3. นักศึกษาสามารถลาเรียนได้ไม่เกิน 3 ครั้ง ลาครั้งถัดไปเท่ากับการขาดเรียน 4. นักศึกษาแต่งกายด้วยชุดนักศึกษาถูกระเบียบเท่านั้น
อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 3.2.1, 3.2.2,3.3.2 จิตพิสัย/กิจกรรมในชั้นเรียน - สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและ กับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2.1, 2.2 สอบกลางภาค ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค 9 30 %
3 2.1,3.2,5.2,6.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรมการเรียนการสอน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
4 1.1,2.2,3.2,4.1,5.1,6.1 ประเมินผลจากการทดสอบย่อย -ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 -ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4,12 20 %
5 2.2,3.2 สอบปลายภาค ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนปลายภาค 18 30 %