ช่องทางการจัดจำหน่ายทางการตลาด

Distribution Channels in Marketing

    1.1 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจในระบบการจัดจำหน่าย และช่องทางการตลาด
    1.2 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบแนวคิด การออกแบบ การคัดเลือก การจัดการ การประเมินผล ช่องทางการ จัดจำหน่าย การจัดการเกี่ยวกับสมาชิกในช่องทางการตลาด
    1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผน ประเมินผล และแก้ปัญหาในการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้าได้
    1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดจำหน่ายมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน
     
 2.1 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจหน้าที่ และวิธีการดำเนินการระบบการจัดจำหน่ายทางการตลาดได้
       2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาทางการจัดจำหน่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเอาความรู้ และหลักทฤษฎีทางด้านการจัดจำหน่ายมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
      การวิเคราะห์ระบบแนวคิด การออกแบบ การคัดเลือก การจัดการ การประเมินผล ช่องทางการจัดจำหน่าย การจัดการเกี่ยวกับสมาชิกในช่องทางการตลาด การค้าสมัยใหม่ การส่งกำลังบำรุงทางการตลาด และการกระจายสินค้า เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
     Analysis systems, concept, design, evaluation, selection, management of distribution channels. Dealing with menbers of the marketing channels. Moderm trad. The logistics market and Distribution Information technology to create competitive.
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ /ระบบออนไลน์ (เฉพาะรายที่ต้องการ
- มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา - ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน - อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
- การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
- จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ - จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน - จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ - ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา - ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
- สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
- จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ  จากกรณีศึกษา - การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน - การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง - การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น  แก้ไข
 
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา - การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ - ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา - ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงา
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป - มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง - มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา - มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ  
- การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค - พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา - การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา - สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming) - สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน  แก้ไข
- สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์  แก้ไข
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง - จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา - ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้ - มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
- การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค - ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม - พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร - ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม  แก้ไข
 
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม - จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผ]การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ - จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง  แก้ไข
 
- ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม - พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BBABA605 ช่องทางการจัดจำหน่ายทางการตลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 2.1.2 การทดสอบ - การทดสอบกลางภาค - การทดสอบปลายภาค 9,17 25%, 25%
2 3.1.2, 4.1.2, 5.1.3 ผลการฝึกปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย - ผลงานการฝึกปฏิบัติ - งานที่มอบหมาย และการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - เจตคติ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ. (2544). การจัดการโลจิสติกส์. กรุงเทพ ฯ : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์
          เนชั่นแนล
การตลาดแห่งประเทศไทย, สมาคม. (2550). จรรยาบรรณนักการตลาด. {online}.
          Avaiable : http//www.marketingthai. or.th/thai/image/marketing
กฤษดา วิศวธีรานนท์ และกุลพงศ์ ยูนิพันธ์. (2548). Supply chain & logistics :
           ทฤษฎีและตัวอย่าง. กรุงเทพ ฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทยญี่ปุ่น)
การค้าภายใน, กรม. (2545). การวางระบบงานยุทธศาสตร์การค้าปลีก : The Systematic retail business.
            กรุงเทพ ฯ : บพิธการพิมพ์.
ฉัตรยาพร เสมอใจ. (2549). การจัดการและการตลาดบริการ. กรุงเทพ ฯ : ส.เอเชียเพรส (1989)
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2548). การตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่6). กรุงเทพ ฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น
ฐิมา ไชยยะกุล. (2548). หลักการจัดการผลิต  เทคโนโลยี RFID. กรุงเทพ ฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น
           อินโดไซน่า.
ธำรง ช่อไม้ทอง และราณี อิสิชัยกุล. (2545). การจัดช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า
           (พิมพ์ครั้งที่ 11). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุวิทย์ นามบุญเรือง. (2558) การบริหารช่องทางการตลาด. ซีเอ็ดยูเคชั่น
 
- เว็บไซต์ทางการตลาด
- อุตสาหกรรมสาร
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
         1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
         1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
         1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
         2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
         2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
         2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
          3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
              ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
           4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
             5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
             5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ