ปรัชญาอาชีวศึกษาและการประกันคุณภาพ

Philosophy of Vocational Education and Education Quality Assurance

    1.1 เข้าใจการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาอาชีวะและเทคนิคศึกษา
    1.2 เข้าใจความเป็นมา และรูปแบบของอาชีวศึกษา ประเทศไทย
    1.3 เข้าใจความเป็นมา และรูปแบบของอาชีวศึกษา ต่างประเทศ
    1.4 เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจ ที่มีผลต่ออาชีวศึกษา
    1.5 เข้าใจความรู้เกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา
    1.6 เข้าใจมาตรฐานการอาชีวศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
       1.7  เข้าใจการเขียนรายงานและการดำเนินกิจกรรมประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
       1.8 เข้าใจการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา และนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนา
       1.9 ตระหนักและเห็นความสำคัญของปรัชญาอาชีวศึกษาและการประกันคุณภาพ
      2.1 เพื่อให้สอดคล้องกับ มคอ 1  มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ค.อ.บ - 2562
      2.2 เพื่อให้สอดคล้องกับ มาตรฐานวิชาชีพครูของครุสภา พ.ศ. 2562
      2.3 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้เกี่ยวกับ เกี่ยวกับวิวัฒนาการ ความเป็นมาของอาชีวศึกษา รูปแบบของวิทยาลัยอาชีวศึกษาประเภทต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่เน้นการจัดการศึกษา ทำงานให้เกิดความชำนาญและคิดวิเคราะห์เชิงระบบตามปรัชญาอาชีวศึกษา การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลกและสังคม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา การวางแผนและดำเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพทางการศึกษาภายในและภายนอก กระบวนการดำเนินกิจกรรมประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไปใช้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ความเป็นมาของอาชีวศึกษา รูปแบบของวิทยาลัยอาชีวศึกษาประเภทต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่เน้นการจัดการศึกษา ทำงานให้เกิดความชำนาญและคิดวิเคราะห์เชิงระบบตามปรัชญาอาชีวศึกษา การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลกและสังคม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา การวางแผนและดำเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพทางการศึกษาภายในและภายนอก กระบวนการดำเนินกิจกรรมประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะ ทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์บุคคลและ ความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านวิธีวิทยาการ จัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 TEDCC829 ปรัชญาอาชีวศึกษาและการประกันคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564
3. กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ
4. มาตรฐานการอาชีวศึกษา
5. คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
6. คู่มือการประกันคุณภาพภายนอกรอบสามของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่าน...เว็บบอร์ด...ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของ...ผู้ร่วมทีมสอน......หรือการสังเกตการณ์จากคณะผู้ประเมิน..... ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุง
การสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์

        ตามข้อ 4

เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ