การเพาะเลี้ยงกบ

Frog Culture

1.1 รู้วิธีการวางแผนการผลิตกบ
1.2 เข้าใจกระบวนการเพาะพันธุ์ และอนุบาลลูกกบ
1.3 เข้าใจวิธีการเลี้ยงกบ
1.4 เข้าใจวิธีการจัดการระหว่างการเลี้ยง และการให้อาหารกบ
1.5 รู้วิธีการขนส่ง และการตลาดกบ
2.1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเพาะพันธุ์ อนุบาล การเลี้ยง การจัดการระหว่างการเลี้ยง การขนส่ง และการตลาดกบ
2.2. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
2.3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับสถานการณ์ และการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผนการผลิต รูปแบบการเพาะเลี้ยง การเพาะพันธุ์และการอนุบาล การเลี้ยง อาหาร การจับการลำเลียง และการตลาด
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FS201 โทร 0861011606
3.2 e-mail; junlatat999@hotmail.com  เวลา 20.30 - 22.00 น. ทุกวัน
3.3 Facebook: Julatat keereelang เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.4 line: junlatat เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย   
- สอดแทรก หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- อภิปราย และทำงานกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การเสียสละ และช่วยเหลือกัน
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ไม่ทุจริตในการสอบ
2. กำหนดหลักเกณฑ์ หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
3. การมอบหมายงานเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนดไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม
- คุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความรับผิดชอบต่อข้อตกลงและกฎเกณฑ์ที่กำหนด
- การสังเกตพฤติกรรมในขณะอยู่ในชั้นเรียนหรือทำงานที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  โดย
- บรรยายร่วมกับอภิปราย การ
ทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้อ่าน และสรุปบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ให้ทำแบบฝึกหัด
- ให้ค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการ
สอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
- ประเมินจากการปฏิบัติงานในภาคสนามและห้องปฏิบัติการ
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
สอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
- ประเมินจากการปฏิบัติงานในภาคสนามและห้องปฏิบัติการ
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
- สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
- สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้
 
 
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
- ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางมาตรฐานการผลิตทางการประมง เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจ และสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ และอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้ามาตรฐานการผลิตทางการประมงด้านต่างๆ และนำเสนอผลการค้นคว้า
- มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ข้อมูล และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการอย่างถูกต้อง
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
- การทำรายงานและการนำเสนอผลงาน และการอภิปรายผลงานที่นำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในขณะทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- มีทักษะการสื่อสาร
- มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
- ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
- การพูดคุยสนทนาโต้ตอบ และอภิปรายซักถามเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากการตอบ- ประเมินจากการตอบคำถาม จากงานที่ได้รับมอบหมาย หรือการนำเสนอรายงาน
มีทักษะทางวิชาชีพ
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานและอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การฝึกปฏิบัติงานจริง
- ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์จริงในภาคสนาม
- ประเมินจากการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ มีความรอบรู้ สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้ ภาวะผู้นำ มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะมีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ มีทักษะการสื่อสาร มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG324 การเพาะเลี้ยงกบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 4.1 และ 4.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา และถูกต้อง - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม ทุกสัปดาห์ 10%
2 4.1, 4.2 และ 6.1 - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การทดสอบย่อย 6 ครั้ง สัปดาห์ที่ 3, 4, 7, 9, 12 และ 15 25%
4 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 25%
5 5.1 และ 5.2 - การนำเสนองาน/การรายงาน สัปดาห์ที่ 16 10%
6 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 20%
ข้อมูลจากเว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
ไม่มี
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์กรมประมง
- เอกสารรายงานวิจัยของกรมประมง
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยดูจาก
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.3 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
5.3 การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.4 การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป