อาหารสัตว์น้ำ

Aquatic Animal Feed

1.1 รู้ความสำคัญ ของอาหารปลา
1.2 เข้าใจกระบวนการย่อยอาหารและกระบวนการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อของปลา
1.3 เข้าใจวิธีการคำนวณสูตรอาหารปลา
1.4 รู้วิธีการผลิตและเลือกซื้ออาหารปลาและการให้อาหารปลา
1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพด้านอาหารปลา
   2.1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดความสำคัญของอาหารปลา วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหารปลา การคำนวณสูตรอาหารปลา และการผลิตอาหารปลา
   2.2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
   2.3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับสถานการณ์ และการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสารอาหารและการวิเคราะห์  เมแทบอลิซึมและความต้องการสารอาหาร การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร การผลิตและการให้อาหารสัตว์น้ำ
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FS201 โทร 0861011606
3.2  e-mail; junlatat999@hotmail.com  เวลา 20.30 - 22.00 น. ทุกวัน
3.3 Facebook : Junlatat keereelang เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.4 line : junlatat เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีคุณธรรม และจริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย   
- สอดแทรก หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- อภิปราย และทำงานกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การเสียสละ และช่วยเหลือกัน
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ไม่ทุจริตในการสอบ
2. กำหนดหลักเกณฑ์ หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
3. การมอบหมายงานเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนดไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม
- คุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความรับผิดชอบต่อข้อตกลงและกฎเกณฑ์ที่กำหนด
- การสังเกตพฤติกรรมในขณะอยู่ในชั้นเรียนหรือทำงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2.2 มีความรอบรู้
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  โดย
- บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้อ่าน และสรุปบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ให้ทำแบบฝึกหัด
- ให้ค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
- ประเมินจากการปฏิบัติงานในภาคสนามและห้องปฏิบัติการ
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
- ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางมาตรฐานการผลิตทางการประมง เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจ และสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ และอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้ามาตรฐานการผลิตทางการประมงด้านต่างๆ และนำเสนอผลการค้นคว้า
- มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ข้อมูล และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการอย่างถูกต้อง
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
- การทำรายงานและการนำเสนอผลงาน และการอภิปรายผลงานที่นำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1 ภาวะผู้นำ
4.2 มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในขณะทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
 - ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
 - ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
- การพูดคุยสนทนาโต้ตอบ และอภิปรายซักถามเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากการตอบคำถาม จากงานที่ได้รับมอบหมาย หรือการนำเสนอรายงาน
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานและอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การฝึกปฏิบัติงานจริง
- ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์จริงในภาคสนาม
- ประเมินจากการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้ และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ 1.1 มีคุณธรรม และจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้
1 BSCAG306 อาหารสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 4.1 และ 4.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา และถูกต้อง - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม ทุกสัปดาห์ 10%
2 4.1, 4.2 และ 6.1 - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การทดสอบย่อย 6 ครั้ง สัปดาห์ที่ 3, 4, 7, 9, 12 และ 15 25%
4 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 25%
5 5.1 และ 5.2 - การนำเสนองาน/การรายงาน สัปดาห์ที่ 16 10%
6 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 และ 3.3 - การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 20%
1.1  นิวุฒิ หวังชัย. โภชนศาสตร์สัตว์น้ำ. เชียงใหม่: คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 226 น.
1.2  วีรพงส์ วุฒิพันธุ์ชัย. 2536. อาหารปลา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวาริชศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา. 216 น.
1.3  เวียง เชื้อโพธิ์หัก. 2542. โภชนศาสตร์สัตว์น้ำ และการให้อาหารสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 255 น.
3.1  เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์กรมประมง
3.2  เอกสารรายงานวิจัยของกรมประมง
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยดูจาก
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยดูจาก
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.3 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
5.3 การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.4 การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป