ภาวะผู้นำและการสร้างทีมงาน

Leadership and Team Building

1.1. รู้ความหมายและความแตกต่างระหว่างผู้นำและผู้บริหาร รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวกับความเป็นผู้นำ บทบาทหน้าที่ และทักษะสำคัญของผู้นำ
1.2. เข้าใจแนวความคิดและประยุกต์ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบต่าง ๆ ไปใช้ปฏิบัติงานได้
1.3. เข้าใจและเลือกนำรูปแบบภาวะผู้นำที่เหมาะสมมาใช้กับแต่ละบุคคลและสถานการณ์
1.4. รู้จักปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานเป็นทีม และยอมรับความสำเร็จและล้มเหลวของกลุ่ม
1.5. ตระหนักถึงการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและจริยธรรม
     เพื่อให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติงานภายในองค์กรร่วมกับผู้อื่น และทำงานเป็นกลุ่ม สามารถแสดงบทบาททั้งเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ยอมรับทั้งความสำเร็จและล้มเหลวของกลุ่ม เพื่อให้สามารถวางตัวเหมาะสมกับสถานการณ์และตัวบุคคล
     เพื่อศึกษาทฤษฎีภาวะผู้นำ ภาวะผู้นำกับจริยธรรม ภาวะผู้นำกับความคิดเชิงระบบและการแก้ไขปัญหา ภาวะผู้นำกับวิสัยทัศน์และการสื่อสารระหว่างในองค์กร ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กร ผู้นำกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ การสร้างทีมงาน การสร้างอิทธิพลต่อเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ส่งวัตถุดิบ ลูกค้า สหพันธ์แรงงาน หน่วยงานรัฐ สมาคมการค้า และอื่น ๆ  กลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองที่ได้ผล และกรณีศึกษา
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เฉพาะนักศึกษารายบุคคลหรือรายกลุ่มที่ต้องการคำปรึกษาทางวิชาการ
1.1.1. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 
1.2.1. ยกตัวอย่างสอดแทรกการสอนเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่มีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.2. กำหนดให้นักศึกษาส่งงาน รายงาน โครงการที่ได้รับมอบหมาย และเข้าห้องเรียนตรงเวลา
1.2.3. แบ่งกลุ่มทำโครงการร่วมกัน
1.3.1. ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ
1.3.2. ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการส่งงาน รายงาน โครงการ และเข้าห้องเรียน
1.3.3. ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการโครงการภายในกลุ่ม
 
2.1.1.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเน้ือหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมท้ั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2.1.4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
 
2.2.1. สอบแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายแบบตั้งคำถาม บรรยายเชิงปฏิบัติการ และอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ 
2.2.2. ระดมความคิดนำเสนอโครงการ
2.2.3. จัดทำและนำเสนอรายงาน 
2.2.4. ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม
2.3.1. ประเมินผลจากการทดสอบย่อย
2.3.2. ประเมินผลจากการทำแบบฝึกหัด (ใบงาน)
2.3.3. ประเมินผลจากรายงาน และโครงการ
2.3.4. ประเมินผลจากการนำเสนอโครงการ
3.1.2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1. ฝึกทำแบบฝึกหัด
3.2.2. ระดมความคิดเสนอโครงการ ดำเนินโครงการ และนำเสนอโครงการ
3.3.1. ประเมินผลจากแบบฝึกหัด
3.3.2. ประเมินผลจากแนวความคิดในการนำเสนอโครงการ
3.3.3. ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม สะท้อนความคิดที่มีต่อผลงานของกลุ่มอื่นและการให้ข้อเสนอแนะ
4.1.1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเร่ิม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้าความรุู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการเรียน
4.2.2. มอบหมายให้แบ่งกลุ่มระดมความคิดจัดทำโครงการและนำเสนอโครงการ
4.3.1. ประเมินผลจากการทำงานร่วมกันในกลุ่ม
4.3.2. ประเมินผลจาการทำงานร่วมกันในการดำเนินโครงการ
5.1.2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
5.2.1. มอบหมายให้ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมในหัวขัอที่กำหนดโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
5.2.2. มอบหมายให้นำเสนอโครงการและผลการดำเนินโครงการโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
5.3.1. ประเมินผลจากงานและรายงานที่มอบหมาย
5.3.2. ประเมินผลจากโครงการและการนำเสนอโครงการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมและจริย.ธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1. ยกตัวอย่างสอดแทรกการสอนเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่มีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2.2. กำหนดให้นักศึกษาส่งงาน รายงาน โครงการที่ได้รับมอบหมาย และเข้าห้องเรียนตรงเวลา 1.2.3. แบ่งกลุ่มทำโครงการร่วมกัน 2.2.1. สอบแบบบรรยายเชิงอภิปราย บรรยายแบบตั้งคำถาม บรรยายเชิงปฏิบัติการ และอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ 2.2.2. ระดมความคิดนำเสนอโครงการ 2.2.3. จัดทำและนำเสนอรายงาน 2.2.4. ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม 3.2.1. ทำแบบฝึกหัด 3.2.2. ระดมความคิดเสนอโครงการ และนำเสนอโครงการ 4.2.1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการเรียน 4.2.2. มอบหมายให้แบ่งกลุ่มระดมความคิดจัดทำโครงการและนำเสนอโครงการ 5.2.1. มอบหมายให้ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมในหัวขัอที่กำหนดโดยใช้สื่อเทคโนโลยี 5.2.2. มอบหมายให้นำเสนอโครงการโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
1 BBABA219 ภาวะผู้นำและการสร้างทีมงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.3, 1.1.4 1. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นในการอภิปรายประเด็นจริยธรรมและคุณธรรมของผู้นำ 2. ประเมินจากการส่งงาน รายงาน โครงการ และการเข้าชั้นเรียน 3. ประเมินจากการสังเกตขณะทำงานในกลุ่มและทำโครงการร่วมกัน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4 ประเมินผลจากการทดสอบ 8, 17 ร้อยละ 50
3 3.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.2, 5.1.3 1. ประเมินจาการสังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรม การทำงานกลุ่ม 2. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด รายงานรายบุคคล และโครงการของทีมงาน 3. ประเมินจากการนำเสนอรายงาน และโครงการ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยะละ 40
1.1. สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. ภาวะผู้นำ ทฤษฎีและปฏิบัติ:ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วิรัตน์ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด, 2548.
1.2. ชาญชัย อาจินสมาจาร. ภาวะผู้นำในองค์การ. กรุงเทพมหานคร : สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, ไม่ระบุปี
1.3. รังสรรค์ ประเสริฐศรี. ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร : ธนธัชการพิมพ์ จำกัด, 2544.
1.4. กวี วงศ์พุฒ. ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บี.เค.อินเตอร์ปรินท์ จำกัด, 2539.
1.5. ธวัช บุณยมณี. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2550.
1.6. จอห์น ซี แม็กซ์เวลส์. (2555). ภาวะผู้นำ 5 ระดับ [The 5 Levels of Leadership] พิมพ์คร้งที่ 1. (วันดี อภิรักษ์ธนากร, ผู้แปล) (พิมพ์ครั้งที่ 1). สมุทรปราการ : ดับบลิวพีเอส (ประเทศไทย) จำกัด.
ไม่มี
3.1. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาที่กำหนด  3.2. เว็บไซต์ประวัติและผลงานของผู้นำสำคัญขององค์การภาครัฐ เอกชน ทั้งภายในและต่างประเทศ 3.3. เว็บไซต์เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาความเป็นผู้นำ และการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคม
 
     1.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2. รับฟังข้อเสนอแนะของนักศึกษาระหว่างเรียน 
     1.3. แบบประเมินผู้สอน
     2.1. สังเกตความสนใจของผู้เรียน
     2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
    นำข้อมูลที่ได้จากนักศึกษา และการทวนสอบมาปรับปรุงการจัดการสอนครั้งต่อไป
     4.1. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีดังนี้
          ทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายหน่วยเรียน โดยการสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทำแบบฝึกหัด
     4.2. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์โดยรวมของวิชาดังนี้
          4.2.1. ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมความตั้งใจและเอาใจใส่ในการเรียนของนักศึกษา
          4.2.2. ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบแบบทดสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
     จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4