อิเล็กทรอนิกส์เพื่อควบคุมทางการเกษตร

Electronics for Agricultural Control

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ ๆ ที่น่าสนใจปัจจุบัน ในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความเหมาะสม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ครอบคลุมเนื้อหา ของหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษามึความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาตามจุดมุ่งหมาย
ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ ๆ ที่น่าสนใจปัจจุบัน ในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
-
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเรื่องพื้นฐานของเทคโนโลยีการเกษตร
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเซนเซอร์ในงานเกษตร
2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งข้อมูล การเกษตรผ่านระบบสื่อสารไร้สาย
2.1.4 มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะการทำโครงงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ทางการเกษตร และสามารถนำเสนอหัวข้อโครงงานที่สนใจได้อย่างเหมาะสม
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน และฝึกปฏิบัติการวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการวิเคราะห์การทำงานของวงจร
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 การทำรายงาน การบ้าน และทำโครงงาน
3.1.1สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
บรรยาย การอภิปรายกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน ฝึกวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์จากการทำโครงงาน
ประเมินจาก การพัฒนาการเรียน การตอบคำถามและการแก้ปัญหาโจทย์ในห้องเรียน ความสมบูรณ์ของโครงงาน
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ที่สำคัญ การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-ส่งโครงงาน
-ให้ทำโครงงาน
-ให้คะแนนโครงงาน และการนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2
1 ENGEL117 อิเล็กทรอนิกส์เพื่อควบคุมทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทฤษฎี ออกแบบ ทำโครงงาน ทดสอบโครงงาน นำเสนอ สอบ ประเมินการออกแบบและการทำงาน การนำเสนองาน ทั้งหมด 100%
1.1 Olivier Bonaventure, 2011, Computer Networking : Principles, Protocols and Practice Release  0.25
1.3 รศ.ดร.ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ, 2547, เทคโนโลยีเครือข่ายสื่อสารข้อมูล
2. John Proakis, 2001, Digital Communications 4th-edition.
3.1https://en.wikipedia.org/wiki/Computer_network